คนรุ่นใหม่ Archives - Page 2 of 4 - Decode

TAG คนรุ่นใหม่
Lorem ipsum dolor sit amet.

Welfare state

ยุคสมัยที่กำลังจะมาถึง…โลกของคนที่เกิดหลัง 2553 สดุดีชีวิตและความยุติธรรม อำลา ‘ปัจเจกนิยม’

Reading Time: < 1 minute เราอาจมองย้อนไปว่าคนที่กำลังจะเป็นคนรุ่นใหม่ต่อไปอีกในอนาคต ก็คือคนที่เกิดหลังปี 2553 ซึ่งตอนนี้ส่วนมากกำลังอยู่ในระดับชั้นมัธยมต้น ผมเองไม่อาจสามารถสรุปคุณค่าของวันพรุ่งนี้ได้ แต่มีเรื่องสำคัญที่เราเองอาจพอวิเคราะห์ได้ว่า ความคาดหมายและมุมมองของเขาต่อโลกได้ดังนี้

คนรุ่นใหม่

หนุ่มสาวพลัดถิ่น(ชายแดนใต้) ภูเขาน้ำแข็งแห่งดินแดนชายขอบ

Reading Time: 3 minutes คนวัย 20 – 40 ออกไปเรียนหนังสือ ไปหางานทำที่อื่น นอกจากความเจ็บปวดของคนแล้ว ผมเลยมองว่ามันคือความเจ็บปวดของพื้นที่ด้วย

อติรุจ ดือเระ
คนรุ่นใหม่

จุดติดกระเเสนิยมเลือดใหม่ชายแดนใต้ อุดมการณ์ VS บารมี เมื่อจุดตัดของเกมอยู่ที่ปมปัญหาปากท้อง-สิทธิที่ควรได้เหมือนคนลุ่มน้ำเจ้าพระยา

Reading Time: 3 minutes การปะทะกันระหว่างกระเเสนิยมนักการเมืองรุ่นใหม่ที่มีอุดมการณ์กับวัฒนธรรมนิยมนักการเมืองหน้าเก่าผู้มากบารมี ซึ่งหากฝ่ายเเรกชนะก็จะเปลี่ยนโฉมหน้าการเมืองในชายเเดนใต้ไปจากที่เคยเป็น

อติรุจ ดือเระ
คนรุ่นใหม่
อติรุจ ดือเระ
คนรุ่นใหม่

จนกว่าประชาธิปไตยจะเบ่งบาน ต้องรอดไปให้ถึงวันที่ยาว

Reading Time: 3 minutes ชนะอยู่แล้ว ผมนึกไม่ออกว่าประเทศจะปกครองโดยที่ไม่เป็นระบบประชาธิปไตยได้อย่างไร ไม่ใช่กระแสในประเทศไทยมันคือกระแสโลก

ทิพากร ไชย​ประสิทธิ์​
คนรุ่นใหม่

คือยุคสมัยแห่งความเลวร้าย ความหวังสุดท้ายอยู่ที่คนรุ่นใหม่: ถาม-ตอบ ทางออกประเทศ กับ ส. ศิวรักษ์

Reading Time: 2 minutes De/code ชวน ‘ส. ศิวรักษ์’ นักคิด นักเขียน เจ้าของฉายา ‘ปัญญาชนสยาม’ สนทนาหาทางออกให้ประเทศ ที่เสนอว่าไม่ใช่แค่ ‘ไล่’ กัปตันเรือ แต่ต้อง ‘รื้อ’ ทิ้งทั้งรัฐบาล พร้อมเน้นย้ำว่าทำเช่นนั้นได้ความหวังสุดท้ายอยู่ที่คนรุ่นใหม่ ซึ่งเติบโตมาอย่างตาสว่างด้วย ‘ความรู้’ และ ‘ความจริง’ จากสื่อกระแสรอง

อติรุจ ดือเระ
คนรุ่นใหม่

“หวังว่าพรุ่งนี้จะไปถึงขั้วโลกเหนือ” พูดคุยกับคนรุ่นใหม่(วันนี้)ทำไมต้อง…ย้าย (ประเทศ) เมื่อประเทศนี้คือบ้าน แต่วันนี้เจ็บปวดและสิ้นหวัง

Reading Time: 3 minutes De/code ชวน 2 คนรุ่นใหม่มานั่งจับเข่าคุย ถามถึงความคิดความรู้สึกที่เขามีต่อสังคม ทำไมสังคมนี้จึงทำให้พวกเขาสิ้นหวัง

ณฐาภพ สังเกตุ
คนรุ่นใหม่

นิยายซีไรต์ในความหลัง ความหลง และความอยาก(อ่าน)ที่ถูกจริตกับคนรุ่นใหม่

Reading Time: 2 minutes ฤดูประกวดซีไรต์วนเวียนกลับมาอีกครั้ง ปีนี้เป็นคิวของงานเขียนเรื่องยาวอย่างนวนิยาย แต่ดูเหมือนว่ากระแสความคึกคักแม้แต่ในแวดวงวรรณกรรมยังคงเงียบเชียบไม่แพ้สองสามปีก่อนหน้า หลายคนบอกว่าซีไรต์กลายเป็นเวทีประกวดขึ้นหิ้งที่ขาดความนิยมในปัจจุบันไปแล้ว? De/code ชวนฟังเสียงของนักอ่านและนักเขียนรุ่นใหม่ที่พูดคุยถึงความหลัง ความหลง และความอยากจะอ่านซึ่งพวกเขามีต่อนิยายซีไรต์กัน

อติรุจ ดือเระ
คนรุ่นใหม่

เจเนอเรชั่น “เทรด” ซื้อประสบการณ์เสี่ยง “เขียวติดแดง จนติดดอย”

Reading Time: 3 minutes ในปี 2021 ดูเหมือน “การลงทุนทางการเงิน” จะไม่ใช้เรื่องในอนาคตของบรรดาคนหนุ่มสาวสมัยนี้อีกแล้ว แต่สำหรับหลายคนนี่กลับเป็นเรื่องราวในปัจจุบันที่พวกเขาตั้งใจศึกษาและเสี่ยงที่จะเรียนรู้ ด้วยตระหนักว่า “ดอกเบี้ยเงินฝาก” อาจไม่ได้เป็นหนทางหย่นระยะความมั่นคงในชีวิตได้อีกต่อไป

สมิตานัน หยงสตาร์
คนรุ่นใหม่

ส่งจม.ไม่ไปเลือกตั้งอบจ. ปรากฏการณ์คู่ขนานกับเมืองโตเดี่ยว เส้นบาง ๆ ระหว่างเสรีภาพในการเคลื่อนที่กับสำนึกประชาธิปไตย

Reading Time: 2 minutes Decode ชวน ผศ.ดร.พิชญ์ พงษ์สวัสดิ์ มาร่วมถอดรหัสถึงความสัมพันธ์ระหว่างคนกับเมือง ว่าบริบทเมืองที่เปลี่ยนไปส่งผลต่อการเคลื่อนย้ายที่อยู่ของคนอย่างไร อะไรเป็นเงื่อนไขสำคัญที่ทำให้การเลือกตั้งท้องถิ่นในครั้งนี้ดูจะไม่ได้เป็นที่สนใจในหมู่คนรุ่นใหม่ และแนวทางในการจัดการคนในเมืองแบบไหนถึงจะเหมาะสมกับสภาพเมืองที่กำลังเปลี่ยนไป

ภาวิณี คงฤทธิ์
คนรุ่นใหม่

อย่าให้เกิด 6 ตุลา ภาค2

Reading Time: < 1 minute ปีนี้ครบรอบ 44 ปีเหตุการณ์ 6 ตุลาฯ 2519 ซึ่งเป็นอาชญากรรมรัฐที่โหดร้ายรุนแรงที่สุดในประวัติศาสตร์ไทยสมัยใหม่ เมื่องรัฐระดมกำลังเจ้าห้นาที่จำนวนมากพร้อมกับอาวุธสงครามครบมือเข้าปราบปรามสังหารหมู่นักศึกษาและประชาชนที่ชุมนุมอยู่ในมหาวิทยาลัยธรรมศาสตร์

รศ.ดร.ประจักษ์ ก้องกีรติ
คนรุ่นใหม่

รุ่งอรุณของคอซอง กระโปรงบานบนจุดนัดพบซอย‘นมสด’ GIRLS! Let’s speak out! เปล่งเสียง! ปลุกการเมืองให้ตื่นขึ้น เดบิวต์ครูในศตวรรษที่ 21

Reading Time: 4 minutes อาจจะถึงเวลาแล้วที่เราทั้งสังคมต้องตั้งคำถามกับสิ่งที่เกิดขึ้น ว่าภายใต้ดีกรีความโกรธที่ทะลุปรอทแตกของนักเรียนไทย แท้จริงแล้วพวกเขากำลังเผชิญหน้ากับสิ่งใดในพื้นที่(เคย)ปลอดภัยอย่างโรงเรียน Decode เดินทางไปยังโรงเรียนเบญจมราชาลัย ในพระบรมราชูปถัมภ์ เพื่อพูดคุยกับ เอ๋-วารุณี ทองอุ่น ผู้ก่อตั้งกลุ่ม บร.ไม่ง้อเผด็จการ หนึ่งในแนวร่วมกลุ่ม sisterhood ที่ขับเคลื่อนประเด็นสิทธิเสรีภาพของนักเรียนหญิงและกลุ่ม LGBTQI เอ๋ย้อนให้เราฟังถึงอะไรคือสิ่งที่ ‘นักเรียนหญิงไทย’ รวมไปถึง ‘ลูกสาวไทย’ ในวันนี้ต้องเจอ และความโกรธจากการโดนละเมิดสิทธิ์จุดประกายอะไรในตัวพวกเธอ พร้อมทั้งมองไปหาอนาคตที่รอบนี้พวกเธอขอเป็นคนกำหนดเองว่า โรงเรียนในฝันของนักเรียนสมัยนี้ควรเป็นอย่างไร

ภาวิณี คงฤทธิ์