CATEGORY Journalism
Lorem ipsum dolor sit amet.

Environment

Basecamp #1 สู่เส้นทางนักเขียน แลไปข้างหน้า ‘บูรพาเปลี่ยนทิศ’

Reading Time: 2 minutes Basecamp #1 มุ่งหน้าสู่เส้นทางนักเขียน Project ล่าสุดของ Decode.plus เปิดรับสมัครนักเขียนหน้าใหม่ ครั้งนี้มาในธีม ‘บูรพาเปลี่ยนทิศ’ ตอกสมอ ตั้งแคมป์กันที่บางปะกง ในวันที่คลื่นลม“อุตสาหกรรม” โหมพัดแรง

Journalism

‘สื่อ’ ในสนามเลือกตั้ง

Reading Time: < 1 minute เวลาเช่นนี้จึงทำให้เราเห็นได้ถึงความสำคัญของสื่อในฐานะที่เป็นเวทีถกเถียงกันของสังคม ในฐานะที่เป็นผู้บริหารจัดการเวทีและพื้นที่ให้กับการถกเถียงเพื่อให้ผู้เสพสื่อได้ข้อมูลจากหลายฝ่ายอย่างรอบด้าน ในเรื่องนี้เราจึงเห็นความแตกต่างอย่างชัดเจนของเวทีดีเบทที่นักการเมืองหลายฝ่ายเข้าร่วมกับเวทีปราศรัยหาเสียงของแต่ละพรรคการเมือง ในขณะที่การจัดการเวทีดีเบทต้องอาศัยความสามารถของผู้จัดอย่างมากในการแจกลูกโยนคำถามและคุมเกม เวทีปราศรัยเป็นเวทีพูดฝ่ายเดียวที่ไม่มีการท้าทาย

นวลน้อย ธรรมเสถียร
Journalism

ไม่มีสนามเด็กเล่นในชายหาด มีแต่พาร์ทไทม์และฟูลไทม์ในสนามแรงงานเด็กบังคลาเทศ

Reading Time: 6 minutes การทำงานช่วยเหลือครอบครัวไม่ใช่เรื่องแย่เสมอไป แต่อะไรคือเส้นแบ่งว่า นี่คือรูปแบบการเป็นแรงงานเด็ก (Forced Child Labor) ที่ทำให้เด็กต้องเผชิญความเสี่ยงต่อชีวิต/จิตใจ และการเติบโต

กัลยาวีร์ แววคล้ายหงษ์
Journalism

วันวานที่วังกวางไร้ผู้คน รอวันพิชิตภูกระดึง(อีกครั้ง)

Reading Time: 3 minutes De/code จะพาทุกท่านเดินเท้า ปีนป่ายเขาระยะทางร่วมกว่า 9 กิโลเมตร ไปยัง อุทยานแห่งชาติภูกระดึง จังหวัดเลย หนึ่งในแหล่งท่องเที่ยวทางธรรมชาติที่งดให้บริการในช่วงเวลาที่ระยะห่างเป็นสิ่งจำเป็น และที่สำคัญ เราได้ชวน 3 ผู้พิชิตภูกระดึงเป็นงานหลักบวกกับ 1 ผู้พิชิตภูกระดึงเป็นประจำด้วยใจรักมาร่วมพูดคุยกับผลกระทบที่เกิดขึ้นด้วย

ณัฐพร เทพานนท์
Journalism

ชีวิตที่ต้องแลกเพื่อความงาม ถ้าราล์ฟพูดได้

Reading Time: 3 minutes ความงามเป็นสิ่งที่มนุษย์หลายคนใฝ่ฝัน บางคนเกิดมาพร้อมกับความงามตามอุดมคติของสังคม แต่บางคนก็ไม่ได้เกิดมาพร้อมกับความงามตามอุดมคติของสังคม มันก็เลยต้องหาตัวช่วยที่ทำให้พวกเขาสวยตามอุดมคติของสังคม ไม่ว่าจะเป็นการศัลยกรรม หรือเครื่องสำอาง เครื่องสำอางเป็นสิ่งแรก ๆ ที่หลายคนนึกถึงเมื่อต้องการที่จะเพิ่มความสวยของตัวเอง แต่เบื้องลึกเบื้องหลังกว่าจะมาเป็นเครื่องสำอาง

วิชญ์ช​นนท์​ ปิติ​ชัย​ธ​นา​โชติ​
Journalism

เหตุผลของการมีอยู่ของผีสางเทวดา ความมั่นคงในชีวิตที่ยังตามหลอกหลอน

Reading Time: 3 minutes สังคมจะนับถือผีจนถึงระดับเป็นรากทางสังคม แต่ความเชื่อเรื่องผีกลับถูกปฏิเสธอย่างเคร่งครัด De/code ชวน ธีระนันท์ วิชัยดิษฐ คุยเหตุผลของการมีผีอยู่

ธีทัต จันทราพิชิต
Journalism

หมอกับคนไข้ เส้นบาง ๆ ระหว่างความเป็นมนุษย์กับความเป็นมืออาชีพ ชีวอำนาจใต้เสื้อกาวน์มีอยู่จริง ?

Reading Time: 2 minutes “งดอาหารอย่างไรถึงจะได้ไม่โดนแพทย์บ่น” โปสเตอร์นี้ติดมานานแค่ไหนไม่สำคัญเท่ากับคำถามบนข้อความนั้น มองเผิน ๆ โปสเตอร์นี้เป็นเพียงป้ายให้ความรู้ตามโรงพยาบาลทั่วไป หากแต่นัยของคำว่า “บ่น” กำลังบอกเราถึงความสัมพันธ์บางอย่างระหว่างแพทย์และคนไข้ ซึ่งอาจเกินเลยไปจากการให้ “ความรู้ความเข้าใจ” ในการรักษาและตรวจโรค

ปรีชาญา ชาวกัณหา
Journalism

เส้นบาง ๆ ระหว่าง “ปีศาจ” กับ “เชื้อโรค” ถอนพิษความกลัวด้วยประวัติศาสตร์การแพทย์

Reading Time: 3 minutes การสวดมนต์ไม่ใช่การขับไล่โควิด-19 แต่เป็นการสร้างขวัญกำลังใจแก่ประชาชน ทว่าการสร้างขวัญกำลังใจโดยใช้ความศักดิ์สิทธิ์เข้าช่วย เพื่อสร้างความรู้สึกดีให้แก่ประชาชน ไม่ต่างจากที่รัฐสมัยโบราณก็ใช้ความศักดิ์สิทธิ์เข้าปราบปีศาจที่มีนามว่าโรคระบาดเช่นกัน

ปิยวัฒน์ สีแตงสุก
Journalism

ก่อนศึกแดงเดือด เล่าเรื่องเหลื่อมล้ำและการต่อสู้ในอุตสาหกรรมอังกฤษ: สำนึกทางชนชั้นและหน่ออ่อนของสังคมนิยมในฟุตบอลอังกฤษ

Reading Time: 2 minutes คนไทยติดตามฟุตบอลยุโรปมากอันดับต้นๆ ของโลก แต่วันนี้สิ่งที่ผมอยากถ่ายทอดอาจไม่ใช่เรื่องการเชียร์ฟุตบอลของคนไทย แต่มีเรื่องราวสำคัญในสองเมืองที่เรามักไม่พูดถึงและมองข้ามไป

รศ.ดร.ษัษฐรัมย์ ธรรมบุษดี
Journalism

ไม่ได้เป็น gatekeeper ไม่ใช่ agenda-setter สื่อไทยในวันที่สังคมเดินนำหน้า

Reading Time: 3 minutes ‘ในวันที่ไม่ว่าใครก็เป็นสื่อได้ สื่อมวลชนยังคงจำเป็นอีกหรือเปล่า’ Decode สรุปความจากวงเสวนา Future Journalist นักข่าวรุ่นใหม่ระยะเปลี่ยนผ่าน ซึ่งจัดขึ้นโดยเว็บไซต์ Decode เนื่องในโอกาสงานเปิดตัวเว็บไซต์ Decode Grand Opening เมื่อวันที่ 17 พฤศจิกายน 2563

ภาวิณี คงฤทธิ์
Journalism

เพราะเราต่างมีส่วนสร้างพลเมือง ประชาธิปไตยจะไม่ใช่แค่วิชาสังคม

Reading Time: 2 minutes Decode สรุปความจากวงเสวนา ‘พลเมืองประชาธิปไตยและพลังขับเคลื่อนสังคมของเยาวชน (Democratic Citizens and Civic Engagement of the Youth)’ ช่วงที่ 2 นิเวศการเรียนรู้ความเป็นพลเมือง ซึ่งจัดขึ้นโดย มูลนิธิการศึกษาเพื่อสร้างพลเมืองไทย (Thai Civic Education Foundation ร่วมกันกับภาคีเครือข่าย เมื่อวันที่ 14 พฤศจิกายน ณ คณะรัฐศาสตร์ มหาวิทยาลัยธรรมศาสตร์

ภาวิณี คงฤทธิ์
Journalism

เพราะ…นักรบมีพื้นที่มากกว่านักการทูตในประวัติศาสตร์ไทย “เดี่ยว ธงชัย”ผู้หลงใหลประวัติศาสตร์ แต่ไม่หลงรักอย่างที่ควรจะเป็น

Reading Time: 3 minutes “ผมว่าการเปลี่ยนแปลงทุกครั้งมีความขัดแย้ง ที่ไหนมีความขัดแย้ง ที่นั่นคือที่ที่มีชีวิต ความขัดแย้งมันอยู่ในตัวเราตลอด ที่ไหนไม่มีความขัดแย้งที่นั่นคือตายแล้ว” ฟังเผิน ๆ หลายคนอาจจะตีความว่าประโยคนี้คงหนีไม่พ้นซ่อนประเด็นการเคลื่อนไหวทางการเมือง ที่กำลังร้อนแรงทะลุปรอทอยู่ขณะนี้เป็นแน่ แต่ไม่ใช่สำหรับ “ธงชัย อัชฌายกชาติ” หรือ เดี่ยว นักศึกษาชั้นปี 1 สาขาประวัติศาสตร์ คณะศิลปศาสตร์ มหาวิทยาลัยธรรมศาสตร์ที่กำลังสะท้อนให้เห็นว่า เหตุใดการเปิดพื้นที่ให้ถกเถียงในห้องเรียนประวัติศาสตร์จึงควรเกิดขึ้น ไม่เช่นนั้นก็เท่ากับเป็นห้องเรียนที่รอการหายไปเท่านั้น

สมิตานัน หยงสตาร์
Journalism

สำรวจ “ของเถื่อนในม็อบ” ประเด็นใต้ดินที่อยากทำให้ถูกกฎหมาย

Reading Time: 2 minutes ของเถื่อน คือ อะไร? ของเถื่อนที่เราว่านั้น มันคือประเด็นใต้ดิน ประเด็นที่สังคมไทย “ปากว่าตาขยิบ” ตั้งแต่เรื่องทำแท้ง พนักงานขายบริการ ไปจนกระทั่งการพูดถึงรสชาติเครื่องดื่มบางชนิด วันนี้ในการชุมนุมหลาย ๆ ครั้ง ประเด็นข้างเคียงข้อเรียกร้องบนเวทีเรายังเห็นประเด็นเหล่านี้ที่คนรุ่นใหม่ต้องการทำให้ดีขึ้นในเชิงกฎหมาย หรือทำให้มันถูกกฎหมาย (Legalise) เพื่อที่ว่าทุกที่อยู่แวดล้อมในวงนี้…จะได้รับสิทธิ์การคุ้มครองอย่างเต็มที่ ของเถื่อน 01: Sex Worker “สิ่งที่ยากที่สุดในการต่อสู้เรื่องนี้คือการสู้กับความเชื่อของคนที่เชื่อว่างานนี้เป็นการลดทอนศักดิ์ศรี ซึ่งไม่ใช่ศักดิ์ของคนทำงาน แต่คือศักดิ์ศรีภาพรวมของประเทศ เราต้องการให้เข้าใจสิทธิความเป็นมนุษย์มากกว่าการรักษาภาพลักษณ์ของประเทศ ประเทศของเรายังอยู่ในกรอบผู้หญิงดี ถ้าเราพ้นกรอบนี้มาได้ประเด็นการต่อสู้ของเราน่าจะรอด” ชัชลาวัณย์ เมืองจันทร์ ตัวแทนกลุ่ม sex worker บอกเล่าถึงความต้องการที่อยากเห็นอาชีพนี้และคนในสังคมมีส่วนร่วมลงชื่อเสนอร่างยกเลิก  พ.ร.บ.ป้องกันและปราบปรามการค้าประเวณี พ.ศ. 2539 จำนวน 10,000 รายชื่อ เพื่อให้งานขายบริการไม่ผิดกฎหมาย จากอยู่ใต้พรมเป็นขึ้นมามีสิทธิเท่าเทียมกับแรงงานคนอื่น ๆ นายจ้างจะได้ไม่เอาเปรียบ ไม่เอาเงินไปหักส่วย ไม่ถูกล่อซื้อ ไม่ต้องถูกจับ ซึ่งทุกวันนี้ยังมีการล่อซื้ออยู่แต่ไม่มีข่าวให้เห็นมากนัก ส่วนใหญ่พวกเขาทำงานที่ บาร์ คาราโอเกะ และอาบอบนวด มีทั้งคนไทยและคนต่างชาติ รวมกลุ่มกันมากว่า 20 ปีแล้ว […]

Decode