Crack Politics Archives - Decode

CATEGORY Crack Politics
Lorem ipsum dolor sit amet.

Crack Politics

โลกเดือดทางสภาวะภูมิรัฐศาสตร์

Reading Time: < 1 minute หากเอ่ยคำว่า “โลกเดือด” คนส่วนใหญ่อาจจะนึกถึงสภาวะที่อุณหภูมิโลกสูงขึ้นหรือร้อนขึ้นเรื่อยๆ โดยในปีที่แล้วและปีนี้ โกของเราถูกบันทึกว่า “ร้อนที่สุดเป็นประวัติการณ์” กระทั่งถึงจุดที่ส่งผลกระทบร้ายแรงอย่างยิ่งต่อการดำรงอยู่ของมนุษยชาติทั้งในทางเศรษฐกิจ การเมือง สังคม ระบบนิเวศ รวมถึงสุขภาพของมนุษย์ ผู้เชี่ยวชาญจำนวนมากรวมถึงองค์การสหประชาชาติจึงกล่าวว่า ณ ห้วงเวลาปัจจุบันถือว่ายุคโลกร้อนสิ้นสุดลงแล้ว และเรากำลังเดินหน้าเข้าสู่ยุคโลกเดือด (Global Boiling)

รศ.ดร.ประจักษ์ ก้องกีรติ
Crack Politics

รัฐนาวา สู่ รัฐอากาศยานสิ้นสุดลง เมื่อประตูอากาศยานนั้นเปิดออก

Reading Time: 4 minutes ส่วนหนึ่งของใจความสำคัญจากปาฐกถาของ ศ.ดร.ชัยวัฒน์ สถาอานันท์ เรื่อง “รัฐอากาศยาน” ในงานดิเรก ทอล์ค เนื่องในโอกาสครบรอบ 70 ปี คณะรัฐศาสตร์ มหาวิทยาลัยธรรมศาสตร์ ปี 2562 ในช่วงเวลาที่สังคมไทยอยู่ภายใต้รัฐบาล พล.อ.ประยุทธ์ จันทร์โอชา โดยหลังการเลือกตั้ง 2562 พรรคพลังประชารัฐได้โอกาสจัดตั้งรัฐบาลและเทียบเชิญผู้นำการรัฐประหารขึ้นดำรงตำแหน่งนายกรัฐมนตรีอีกสมัย

Decode
Crack Politics

กำแพงหรือประตูปิดตาย ก่อนไทยจะไปถึงเป้าหมาย ‘เจ้าสมุทร’ ความเสี่ยงใบเหลืองค้ามนุษย์ ในเกลียวคลื่น(ร่าง)แก้ไขกฎหมายประมง

Reading Time: 4 minutes แม้หลายปีที่ผ่านมาจะมีความพยายามของประเทศไทยในการปรับปรุงกฎหมายประมงให้เทียบเท่ามาตรฐานกลเพื่อยกระดับสภาพการทำงานของแรงงาน อย่างไรก็ตาม ในทางปฏิบัติยังปรากฏความท้าทายในการนำหลักการทางกฎหมายไปบังคับใช้ จากความฉุกละหุก เร่งรีบในการออกกฎหมาย อีกทั้งขาดเสียงรอบด้านในกิจการประมงโดยเฉพาะเสียงของแรงงานในการร่วมออกแบบชีวิตการทำงานของพวกเขา และในวันนี้ 8 ร่างแก้ไขกฎหมายประมงที่กำลังมีข้อกังวลถึงความเสี่ยงด้านการปลดล็อกอุปกรณ์จับปลาทำลายล้างและการค้าทาสสมัยใหม่
หรือไทยกำลังไฟเขียวให้การค้าทาสสมัยใหม่ แต่เสี่ยงโดนใบเหลืองจากสหภาพยุโรป?

นทธร เกตุชู
Crack Politics

ถ้าไม่มี สว.

Reading Time: 2 minutes การเลือกตั้งสมาชิกวุฒิสภาชุดใหม่ที่กำลังจะเกิดขึ้นในไม่ช้า เป็นวาระที่มีความสำคัญอย่างยิ่งยวดเมื่อมองจากมุมมองเปรียบเทียบและบริบททางประวัติศาสตร์ของการเมืองไทย
หากเรามองกระบวนการเลือกวุฒิสมาชิกชุดใหม่โดยลำพังตัวมันเอง ย่อมถือว่าเป็นเหตุการณ์ทางการเมืองที่ไม่น่าสนใจและไม่น่าตื่นเต้นแต่อย่างใด เปรียบเสมือนอีเวนท์ทางการเมืองที่ดูจะสิ้นเปลืองงบประมาณโดยใช่เหตุเพราะประชาชนส่วนใหญ่ของประเทศก็ถูกลิดรอนสิทธิและกีดกันออกไปตั้งแต่ต้นเสียแล้ว

รศ.ดร.ประจักษ์ ก้องกีรติ
Crack Politics

ไกลบ้านเพราะการเมือง 14 ปีของการลี้ภัยและประชาธิปไตยที่ทลายเจ้า-ปืน-ทุนของ ‘จรรยา ยิ้มประเสริฐ’

Reading Time: 5 minutes ฉากชีวิตของจรรยา ยิ้มประเสริฐ จากเด็กเรียนดีแห่งบางปลาม้ากลายเป็นคนไม่รักในหลวง สู่ข้อถกเถียงมาตรา 112 ในวันที่กฎหมายภายใต้ความจงรักภักดีนี้ยังบีบบังคับให้ใครหลายคนต้องไกลบ้าน ไม่ได้กลับบ้าน หรือกลับบ้านเพียงร่างที่ไร้วิญญาน
ถึงเวลาสร้างประวัติศาสตร์ฉบับประชาชน เขียนเครื่องหมายคำถามตัวใหญ่กับการถูกทำให้หายไปอำนาจรวมตัวต่อรองของประชาชนต่อสถาบันกษัตริย์ คณะรัฐประหาร ทุนผูกขาด รวมถึงรัฐบาลอภิสิทธิ์และพรรคเพื่อไทย ในความขัดแย้งตลอดระยะเวลาที่ผ่านมา สังคมไทยกำลังก้าวข้ามความขัดแย้งแบบใดกันแน่
58 ปีตลอดชีวิต 14 ปีที่ต้องลี้ภัยกับ 1 ความหวังของจรรยา สังคมไทยในวันข้างหน้าจะไม่มีคนรุ่นใหม่คนไหนต้องลี้ภัยอีกแล้ว

นทธร เกตุชู
Crack Politics

ในวันที่เสรีภาพสื่อไทยมี but hardly free

Reading Time: 3 minutes ภูมิทัศน์สื่อภายใต้รัฐบาลจากการเลือกตั้งอาจยังให้เสรีภาพไม่เต็มใบ และถึงแม้สื่อไทยจะมีเสรีภาพแต่ก็ถือได้ว่า hardly free และมองการเดินทางไกลของเสรีภาพครั้งนี้ว่าหินก้อนต่อไปจะไปตกลงที่ใดกับ ดร.พรรษาสิริ กุหลาบ คณะนิเทศศาสตร์ จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย

นทธร เกตุชู
Crack Politics

นิรโทษกรรมประชาชนของคน 3 รุ่น ‘ณัฐชนน-จตุพร-พิภพ’ ชำระประวัติศาสตร์ 20 ปีแห่งความขัดแย้ง

Reading Time: 2 minutes ความขัดแย้งทางการเมืองไทยดำรงอยู่เกือบ 20 ปี หลังจากพันธมิตรประชาชนเพื่อประชาธิปไตย ขับไล่ “รัฐบาลทักษิณ” และเกิดการรัฐประหาร 19 กันยายน 2549 กระทั่งปัจุบันประเทศไทยอยู่ในวังวนความขัดแย้งไม่สิ้นสุด ข้อมูลจากศูนย์ทนายความเพื่อสิทธิมนุษยชน มีคนโดนคดีจากการออกมาเคลื่อนไหวในสองทศวรรษนี้แล้วกว่า 6,000 คน ตั้งแต่พ.ร.ก.ฉุกเฉิน พ.ร.บ.คอมพิวเตอร์ พ.ร.บ.ความสะอาด ประกาศคำสั่งจากคณะยึดอำนาจ ความตามประมวลกฎหมายอาญา มาตรา  110 (ประทุษร้ายต่อพระราชินี) 112 และ116

ฟาห์เรนน์ นิยมเดชา
Crack Politics

สำรวจสันติภาพ ในมือรัฐบาลเศรษฐา 20 ปีแห่งความขัดแย้ง

Reading Time: < 1 minute วันนี้เรามีรัฐบาลจากการเลือกตั้ง แต่กลับเงียบเชียบอย่างยิ่งในเรื่องสันติภาพภาคใต้ เราแทบไม่ได้ยินนายกรัฐมนตรีเปิดเผยแนวคิดในการแก้ไขความขัดแย้งในพื้นที่นี้ต่อสาธารณะเลย การไปพบปะกับผู้นำมาเลเซียก็เน้นหนักไปในเรื่องความร่วมมือด้านเศรษฐกิจเป็นหลัก ทั้ง ๆ ที่ฝ่ายมาเลเซียนั้นแสดงท่าทีให้ความสำคัญกับการมีบทบาทช่วยแก้ไขความขัดแย้งในสามจังหวัดใต้มาแต่ต้น

นวลน้อย ธรรมเสถียร
Crack Politics

สุพราหมัณยัมและชัยศังกร: สองพ่อลูกเบื้องหลังการต่างประเทศอินเดียร่วมสมัย

Reading Time: 3 minutes ในบรรดารัฐมนตรีของรัฐบาลอินเดียปัจจุบันนำโดยนายกรัฐมนตรีนเรนทรา โมดี (Narendra Modi) รัฐมนตรีที่มีชื่อเสียงโด่งดังมากที่สุดคือชัยศังกร

สุรัตน์ โหราชัยกุล
Crack Politics

คิสซิงเจอร์ในความทรงจำของอินเดีย

Reading Time: 2 minutes อาจจะเป็นเพราะคิสซิงเจอร์เป็นคนแรกที่ดำรงตำแหน่งทั้งรัฐมนตรีว่าการกระทรวงการต่างประเทศและที่ปรึกษาความมั่นคงแห่งชาติ และได้กำหนดนโยบายการต่างประเทศและความมั่นคงของสหรัฐฯ ในช่วงสำคัญของสงครามเย็นเลยก็ว่าได้

สุรัตน์ โหราชัยกุล
Crack Politics

รักหม้ายยอมเปลี่ยนแปลง? บทใหม่การเมืองภาคใต้กับหัวหน้าพรรคคนใหม่

Reading Time: 2 minutes วิกฤตที่เกิดขึ้นกับพรรคประชาธิปัตย์ครั้งนี้ ไม่ใช่แค่เรื่องของตัวพรรค แต่เกี่ยวโยงกับอุดมการณ์ทางการเมืองในภาคใต้ ซึ่งในบทสนทนานี้ De/code ชวน รศ. ดร. บูฆอรี ยีหมะ อาจารย์ประจำคณะมนุษยศาสตร์และสังคมศาสตร์ มหาวิทยาลัยราชภัฏสงขลา มาร่วมถอดรหัสบทใหม่(?)ของการเมืองภาคใต้ ที่ไม่ใช่แค่ “ส่งเสาไฟฟ้าลงก็ชนะ” อีกต่อไป

ปิยวัฒน์ สีแตงสุก
Crack Politics

บัวโนสไอเรสถึงอัมสเตอร์ดัม เมื่อคลื่นเอียงขวายังพัดแรง

Reading Time: < 1 minute ที่ว่าสั่นสะเทือนเพราะผลการเลือกตั้งนั้นออกมาอย่างผิดความคาดหมาย นักการเมืองและพรรคการเมืองที่มีแนวคิดเอียงขวาสุดโต่งทั้งมีท่วงท่าทางการเมืองแบบแหกคอกนอกขนบกลายเป็นฝ่ายชนะการเลือกตั้ง

รศ.ดร.ประจักษ์ ก้องกีรติ