CATEGORY Education
Lorem ipsum dolor sit amet.

Education

ไม่มีสนามเด็กเล่นในชายหาด มีแต่พาร์ทไทม์และฟูลไทม์ในสนามแรงงานเด็กบังคลาเทศ

Reading Time: 6 minutes การทำงานช่วยเหลือครอบครัวไม่ใช่เรื่องแย่เสมอไป แต่อะไรคือเส้นแบ่งว่า นี่คือรูปแบบการเป็นแรงงานเด็ก (Forced Child Labor) ที่ทำให้เด็กต้องเผชิญความเสี่ยงต่อชีวิต/จิตใจ และการเติบโต

กัลยาวีร์ แววคล้ายหงษ์
Education

เรียนออนไลน์ “ค่าปกติใหม่” ของการศึกษาไทย?

Reading Time: 3 minutes การคืนเด็กให้กับโรงเรียนอาจไม่ใช้ข้อสรุปที่ถูกต้อง แต่ “คืนนักเรียนให้กับการเรียนรู้” น่าจะเป็นคำตอบที่เหมาะสมที่สุด

สมิตานัน หยงสตาร์
Education

เราเสียเวลากับการศึกษา(มาก)แค่ไหน

Reading Time: 3 minutes การสอบเทียบหลานคนคงอาจได้ยินมา แต่ก็อาจมีหลายคนที่ยังไม่ได้ยิน งั้นมารู้จักกันเลย การสอบเทียบ คือ การสอบในหลักสูตรการเรียนอื่นๆที่อยู่ในระดับเดียวกันกับระบบการศึกษาหลัก เช่น สอบเทียบ ม.6 ด้วยหลักสูตรอื่น ๆ แล้วได้เทียบวุฒิเท่า ม.6 ในไทยสามารถเลือกได้ทั้งคณะในภาคไทยและอินเตอร์ (แต่มันเป็นเพียงอดีตไปแล้ว)

วิชญ์ช​นนท์​ ปิติ​ชัย​ธ​นา​โชติ​
Education

ถ้าหนังสือเรียนไม่ช่วยอะไร เปิดเครื่อง “รับ” ลบเส้นแบ่งทางเพศจากความเข้าใจใหม่ที่ใครก็คุ้นเคย

Reading Time: 3 minutes ความคิดแบบเพศทวิลักษณ์ ทวิลักษณ์แห่งเพศ หรือ Gender Binary เป็นระบบความคิดที่ยึดโยงว่าโลกใบนี้มีเพียงแค่สองเพศ ไม่หญิงก็ชาย ไม่ชายก็หญิง เป็นเพียงขั้วตรงข้ามสองขั้วที่มีความแตกต่างอย่างชัดเจน ไม่ว่าจะเป็นบทบาท ความสัมพันธ์ ความสามารถ งานอดิเรก และประเด็นยิบย่อยอันเป็นกรอบครอบชีวิตทุกคนโดยอ้างว่านั่นคือสิ่งที่เหมาะสมและควรจะเป็นความคิดเหล่านั้นถูกพร่ำบอกไปมาจนราวกับว่าเป็นคำตอบที่ถูกต้องเพียงหนึ่งเดียวในที่สุด

ณัฐพร เทพานนท์
Education

ผลพวง(ไม่)เลื่อนสอบทีแคส64 สึนามิการศึกษาไทยซัดเข้าฝั่งเศรษฐกิจ โดมิโนตัวสุดท้ายกลายเป็นคนแพ้ถูกคัดออก

Reading Time: 2 minutes ประเทศไทยอาจเป็นประเทศแรกในโลกที่เด็กนักเรียนฟ้องศาลให้เลื่อนสอบ จากสถานการณ์โรคระบาดและความไม่แน่นอนของเศรษฐกิจและสังคมที่เปลี่ยนไป แนวโน้มเด็กไทยเข้าเรียนต่อมหาวิทยาลัยน้อยลง เพราะพวกเขาคือโดมิโนตัวสุดท้ายในสายพานความพังของระบบการศึกษา De/code ชวน ผศ. อรรถพล อนันตวรสกุล อาจารย์ประจำคณะครุศาสตร์ จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย หนึ่งในครูผู้เรียกร้องสิทธิร่วมกับเด็กพูดคุยเรื่องเสียงที่ผู้ใหญ่ไม่ได้ยิน

ทิพากร ไชย​ประสิทธิ์​
Education

ปากคำมนุษย์ ป.โท สายสังคมศาสตร์ กับความจำเป็นของ “สังคมศาสตร์” ในสังคมที่มองไม่เห็นความจำเป็น

Reading Time: 3 minutes บ้างก็ว่าเป็นเพราะผู้เรียนสายสังคมฯ ไม่ได้มีทักษะที่หลากหลายมากพอที่จะขอเงินเดือนในจำนวนเท่ากับสาขาอื่น ๆ
บ้างก็ว่าผู้เรียนสายสังคมฯ เรียนอะไรที่มันเป็นนามธรรมเกินไป เอามาปรับใช้กับการทำงานได้ไม่ดีเท่าสายวิทย์-คณิตฯ

ปิยวัฒน์ สีแตงสุก
Education

“เพราะมหาลัยไม่ใช่ของผู้บริหาร” เรียน(ออนไลน์)ต่อต้องมองไกล จินตนาการไม่ได้สำคัญไปกว่าความจริง

Reading Time: 3 minutes “การศึกษาคือตัวเลขที่ประเมินมูลค่าไม่ได้” Decode ได้พูดคุยกับนักศึกษาจาก 2 สาขาวิชาชีพและหนึ่งอาจารย์มหาวิทยาลัยเพื่อร่วมกันถอดรหัสการเรียนการสอนแบบออนไลน์ว่าแนวทางนี้มีประสิทธิภาพมากเพียงใดในยุคชีวิตวิถีใหม่

ณัฐพร เทพานนท์
Education

การลาออกครั้งสุดท้ายของ “ครูแป๊ะ” และขบวนการล่างสุดของการถูกกดขี่

Reading Time: 2 minutes เย็นวันหนึ่งปลายปี 2563 เธอเดินทางไปที่ม็อบบริเวณหน้าทำเนียบรัฐบาลกับลูกศิษย์ ด้านหลังแผงกั้นแน่นหนาทั่วบริเวณมีกองกำลังทหารตรึงกำลังอยู่ทุกจุด ฝูงชนที่คลาคล่ำเต็มถนนมุ่งหน้าไปอย่างช้าๆ แต่แน่วแน่ บ้างมากันเป็นกลุ่มเล็กๆ บ้างมาตามลำพัง

อโนมา สอนบาลี
Education

แฟนตาซีของความจน ในสายตาผู้กำหนดนโยบายจากยอดพีระมิด

Reading Time: 2 minutes “อาจารย์หนูมีเรื่องจะเล่าให้ฟัง” เธอเป็นนักศึกษาปี 1 มหาวิทยาลัยมักจะโฆษณาอยู่เสมอว่ามีทุนการศึกษาสำหรับผู้ที่ยากจนและมีความต้องการจริงๆ และทุกคนสมควรที่จะได้เรียนก็จะได้ทุน เธอเป็นคนหนึ่งที่ทางบ้านได้รับผลกระทบจากวิกฤติเศรษฐกิจนี้

รศ.ดร.ษัษฐรัมย์ ธรรมบุษดี
Education

ผิดที่ไว้ใจ?…รัฐปกป้องใครในวันที่เด็กที่ลุกขึ้นมาปกป้องสิทธิ

Reading Time: 2 minutes นักกิจกรรมที่เดินทางมาจากทั่วทุกภูมิภาคทั่วประเทศ ร่วมเสวนาในหัวข้อ “When Children Defend Human Rights: Thailand’s Response?” เมื่อเยาวชนลุกขึ้นมาปกป้องสิทธิและรัฐปกป้องใคร” เมื่อวันที่ 17 ธันวาคม 2563 ที่ผ่านมา พร้อมเปิดกล่องรับไอเดียส่งให้องค์กรเด็กอย่างยูนิเซฟไม่ให้เพิกเฉยต่อการคุกคามเด็กและเยาวชนที่กำลังเกิดขึ้น

Decode
Education

เพราะเราต่างมีส่วนสร้างพลเมือง ประชาธิปไตยจะไม่ใช่แค่วิชาสังคม

Reading Time: 2 minutes Decode สรุปความจากวงเสวนา ‘พลเมืองประชาธิปไตยและพลังขับเคลื่อนสังคมของเยาวชน (Democratic Citizens and Civic Engagement of the Youth)’ ช่วงที่ 2 นิเวศการเรียนรู้ความเป็นพลเมือง ซึ่งจัดขึ้นโดย มูลนิธิการศึกษาเพื่อสร้างพลเมืองไทย (Thai Civic Education Foundation ร่วมกันกับภาคีเครือข่าย เมื่อวันที่ 14 พฤศจิกายน ณ คณะรัฐศาสตร์ มหาวิทยาลัยธรรมศาสตร์

ภาวิณี คงฤทธิ์
Education

ห้องเรียนของ“หน้าที่” แต่ไม่มี “สิทธิ” ของพลเมือง

Reading Time: 2 minutes เวทีเสวนา “พลเมือง ประชาธิปไตย และความเป็นธรรมทางสังคม” ที่จัดขึ้นกลางเดือนพฤศจิกายนที่ผ่านมา นิ้ง-ธญานี เจริญกูล กลุ่มนักเรียนเลว และ มายมิ้น-ศุกรียา วรรณายุวัฒน์ นิสิตคุรุศาสตร์ จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย ตอบเปิดเวทีในทิศทางเดียวกันว่า ความเป็นธรรมคือการที่ทุกคนมีสิทธิ์เท่ากัน ขณะเดียวกันก็ได้รับการคุ้มครองสิทธิ์นั้นเช่นกัน ทั้งสองร่วมเวทีท่ามกลาง “ครู” ในโรงเรียน และมหาวิทยาลัย

กัลยาวีร์ แววคล้ายหงษ์