Election Archives - Decode

CATEGORY Election
Lorem ipsum dolor sit amet.

Election

ประวัติศาสตร์ฉบับย่อสว.ไทย และการสงวนไว้สำหรับชนชั้นนำ

Reading Time: < 1 minute กติกาการคัดเลือกที่ซับซ้อนเข้าใจยากและกีดกันประชาชนส่วนใหญ่ออกไปจากกระบวนการสะท้อนเจตนาของผู้ร่างรัฐธรรมนูญ 2560 ที่ต้องการลดทอนอำนาจของประชาชนในการกำหนดว่าใครควรจะได้เป็นวุฒิสมาชิก ซึ่งสะท้อนอย่างชัดเจนว่าชนชั้นนำอนุรักษนิยมยังคงต้องการสงวนเวทีวุฒิสภาไว้ให้เป็นกลไกค้ำจุนอำนาจของตน

รศ.ดร.ประจักษ์ ก้องกีรติ
Election

Post-Election (2) การเปลี่ยนแปลงทางเศรษฐกิจ เปลี่ยนทุนนิยมให้มีหัวใจ

Reading Time: < 1 minute ความต้องการของประชาชนจึงไม่ใช่ความเมตตาทางเศรษฐกิจ แต่พวกเขาปรารถนาต่อการเปลี่ยนแปลงทางเศรษฐกิจ และข้ออ้างของกลุ่มทุนผูกขาดว่าพวกเขาเก่ง ขยัน หรือฉลาดจนได้รับความมั่งคั่งมหาศาลนี้ก็สมเหตุสมผลน้อยลงทุกทีในสายตาของประชาชน

รศ.ดร.ษัษฐรัมย์ ธรรมบุษดี
Election

Post-Election (1) การเปลี่ยนแปลงอุดมการณ์ทางการเมือง

Reading Time: < 1 minute การเปลี่ยนแปลงหลังการเลือกตั้งเมื่อ 14 พฤษภาคม 2566 แม้จะเป็นการเลือกตั้งเพียงครั้งเดียว แต่นับเป็น ย่อหน้าสุดท้ายของคำนำว่าด้วยการเปลี่ยนแปลงที่จะเกิดขึ้นต่อไป แม้จะไวเกินไปที่จะหาบทสรุป แต่สิ่งที่เราสามารถสะท้อนเบื้องต้นถึงการเปลี่ยนแปลงทั้งในทาง การเมือง เศรษฐกิจ สังคม หลังการเลือกตั้งก็มีส่วนที่ชัดเจนสามารถวิเคราะห์ต่อเพิ่มเติมได้เช่นกัน โดยในบทความนี้ผู้เขียนขอพิจารณาเงื่อนไขการเปลี่ยนแปลงเบื้องต้นคือ การเปลี่ยนแปลงทางด้านอุดมการณ์ทางการเมืองหลังการเลือกตั้ง

รศ.ดร.ษัษฐรัมย์ ธรรมบุษดี
Election

คะแนนเป็น 0 เพราะไม่เชื่อมั่น ไม่โปร่งใส และไม่มีแพลน B ‘นันทนา นันทวโรภาส’ ตรวจข้อสอบกกต. หลังเลือกตั้ง66

Reading Time: 4 minutes เมื่อเสียงวิพากษ์วิจารณ์ในการทำงานตั้งแต่ก่อน-ระหว่าง-หลังการเลือกตั้ง ภาพที่สะท้อนออกมา ไม่ได้มีเพียงการทำงานของกกต. แต่ประชาชนสะท้อนถึงความคาดหวังและผิดหวังที่มีต่อกกต. ในการทำงานครั้งนี้ไว้ว่าอย่างไร ผ่านเลนส์กล้องมือถือของ 2 สื่อรุ่นใหม่ และจับปากกาจดเลคเชอร์กับ รศ.ดร. นันทนา นันทวโรภาส

นทธร เกตุชู
Election

สิ้นสุด 2 ขั้ว 2 พรรค สู่ยุคใหม่ของระบบการเมืองไทย “หลายพรรคและแตกต่าง”

Reading Time: 2 minutes ระบบพรรคการเมืองของไทยกำลังก้าวเข้าสู่ยุคใหม่นั่นเองที่เป็นระบบพรรคการเมืองหลายพรรคที่มีความต่างทางอุดมการณ์และนโยบาย (multi-party system with ideological difference and policy platforms) ซึ่งแตกต่างจากการเมืองไทยในยุคก่อนหน้านี้

รศ.ดร.ประจักษ์ ก้องกีรติ
Election

ความเปลี่ยนแปลงอย่างแรงกล้า ในห้าประการจากการเลือกตั้ง66

Reading Time: 2 minutes 5 ข้อสังเกตเบื้องต้นบางประการเกี่ยวกับการเลือกตั้ง 2566 นี้ ว่าสถิติตัวเลขต่างๆ สะท้อนให้เราเห็นอะไรบ้างในการเมืองไทยและสังคมไทย

รศ.ดร.ประจักษ์ ก้องกีรติ
Election

‘สื่อ’ ในสนามเลือกตั้ง

Reading Time: < 1 minute เวลาเช่นนี้จึงทำให้เราเห็นได้ถึงความสำคัญของสื่อในฐานะที่เป็นเวทีถกเถียงกันของสังคม ในฐานะที่เป็นผู้บริหารจัดการเวทีและพื้นที่ให้กับการถกเถียงเพื่อให้ผู้เสพสื่อได้ข้อมูลจากหลายฝ่ายอย่างรอบด้าน ในเรื่องนี้เราจึงเห็นความแตกต่างอย่างชัดเจนของเวทีดีเบทที่นักการเมืองหลายฝ่ายเข้าร่วมกับเวทีปราศรัยหาเสียงของแต่ละพรรคการเมือง ในขณะที่การจัดการเวทีดีเบทต้องอาศัยความสามารถของผู้จัดอย่างมากในการแจกลูกโยนคำถามและคุมเกม เวทีปราศรัยเป็นเวทีพูดฝ่ายเดียวที่ไม่มีการท้าทาย

นวลน้อย ธรรมเสถียร
Election

ตั้งสหภาพแรงงาน สร้างรัฐสวัสดิการ เมื่อนโยบายเพื่อคนหมู่มาก ถูกมองว่าสุดโต่ง(?)

Reading Time: 3 minutes เชื่อว่าปัญหาแรงงานมีให้พูดถึงได้ทุกวัน ไม่ใช่เฉพาะในวันแรงงาน การกดขี่ขูดรีจากนายจ้าง-นายทุนเกิดขึ้นอยู่ตลอดไม่ว่าจะทางตรงหรือทางอ้อม หลายคนทำงานเกินเวลาโดยไม่ได้รับโอทีจนเป็นเรื่องปกติ และที่ทำงานนหลายแห่งความเป็นไปได้ในการรวมตัวต่อรองเท่ากับศูนย์

ปิยวัฒน์ สีแตงสุก
Election

ประตูมีกลอน คนคอนมีเปลี่ยนขั้วหม้าย

Reading Time: 3 minutes De/code ลงพื้นที่อำเภอเชียรใหญ่ จังหวัดนครศรีธรรมราช ชวนคนในพื้นที่ต่างอาชีพต่างวัยมาสนทนากันถึงเรื่องการเมืองในช่วงโค้งสุดท้ายของการเลือกตั้งที่บรรยากาศดุเด็ดเผ็ดร้อนไม่แพ้รสชาติแกงใต้

ปิยวัฒน์ สีแตงสุก
Election

ผู้หญิงในสนามผู้แทนชายแดนใต้ ถอนคำสบประมาท “อย่าไปเลือกผู้หญิง”

Reading Time: 2 minutes การเมืองในทุกระดับ ทุกสนามการแข่งขัน มีผู้ชายมากกว่าผู้หญิงในทุกสนาม การเลือกตั้งผู้แทนราษฎร 2566 ครั้งนี้ก็เช่นเคย ที่สัดส่วนผู้หญิงคิดเป็น18.3% เมื่อเทียบขจาดสัดส่วนทั้งหมด ยิ่งในสนามจังหวัดชายแดนใต้ด้วยแล้ว ผู้หญิงในสนามผู้แทน จากปากหมอเพชรดาว ส.ส.หญิงหนึ่งเดียวในชายแดนใต้จากบัญชีรายชื่อของพรรคภูมิใจไทยในรัฐสภาชุดที่ผ่านมาบอกว่า ผู้หญิงจะเจอความไม่พร้อมมากกว่าผู้ชาย “เพราะในอิสลาม ต้องขออนุญาตสามีก่อน”

ฟาห์เรนน์ นิยมเดชา
Election

สูตรจับขั้วรัฐบาลที่อาจส่งผลต่อนโยบายสวัสดิการที่หาเสียงไว้

Reading Time: 2 minutes อุดมการณ์ของพรรคการเมืองก็ยังเป็นตัวชี้ขาดลักษณะของนโยบายสวัสดิการที่แตกต่างกัน และความแตกต่างกันนี้ย่อมส่งผลให้เมื่อมีการจัดตั้งรัฐบาล ลำดับความสำคัญของนโยบายที่หาเสียงไว้ย่อมแตกต่างกันไปด้วย

รศ.ดร.ษัษฐรัมย์ ธรรมบุษดี
Election

ภูมิทัศน์ใหม่ของพรรคการเมืองไทย

Reading Time: 2 minutes การเลือกตั้งปี 2566 คือการเลือกตั้งที่มีความหลากหลายของชุดนโยบายและเฉดความคิดทางการเมืองมากที่สุดในประวัติศาสตร์การเลือกตั้งของไทย

รศ.ดร.ประจักษ์ ก้องกีรติ