Home - Decode

YOU ARE WHAT YOU READ
Lorem ipsum dolor sit amet.

Conflict Resolution,Environment,Sustainability

ปลากะตักกับเรือปั่นไฟ… เมื่อประมงไทยไล่ล่าปลาตัวเล็ก

Reading Time: 4 minutes แนวคิด Fishing Down the Food Web อาจนำมาอธิบายสถานการณ์การประมงปลากะตักในประเทศไทยได้ โดยเฉพาะในบริบทของข้อถกเถียงเกี่ยวกับการแก้ไขพ.ร.ก.ประมงฉบับใหม่ ที่อาจเปิดโอกาสให้มีการทำประมงอวนล้อมจับปลากะตักประกอบแสงไฟด้วยอวนตาถี่นอกเขต 12 ไมล์ทะเล ปรากฏการณ์ไล่ล่าปลาตัวเล็กกำลังสะท้อนปัญหาที่ใหญ่กว่าของทะเลไทยและความไม่ยั่งยืนของการประมง 

ดร.เพชร มโนปวิตร
Human & Society,Young Spirit

Live and Let Die ในความหมายของลิซ่า

Reading Time: 2 minutes Live and Let Die ในความหมายของลิซ่าอาจบอกเราด้วยว่า ผู้ร้องกำลัง ‘ไม่แคร์’ กับสิ่งที่เคยเป็นตัวตนส่วนหนึ่งของเธอ มันคือความกล้าหาญ กล้าที่จะเดินต่อไปข้างหน้าอย่างแข็งแกร่ง และน่าจะถือได้เลยว่านี่คือการ ‘ประกาศอิสรภาพ’ ในระดับโลก

โตมร ศุขปรีชา
Play Read

การเมืองเรื่อง ‘ไฟ’

Reading Time: 3 minutes ชาวบ้านอยากใช้ไฟ แต่รัฐอยากดับไฟ ทศวรรศของการช่วงชิงนิยามของไฟ เมื่อป่ากลายเป็นทรัพย์สินของรัฐ ไฟกับคนจึงจำเป็นต้องออกมาจากป่า?

ธเนศ แสงทองศรีกมล
Economy,Human Rights

แกะรอย ‘สลิปเงินโอน’ ขบวนการขูดรีดแรงงานเมียนมาโยงเผด็จการ-ราชการเทาสิ้นเสียงสวดมนต์ ‘ขอให้เผด็จการหายไป…’

Reading Time: 7 minutes โยงใยการขูดรีดแรงงานเมียนมาที่กำลังพรากความฝันข้ามพรมแดน ภายใต้อคติทางเชื้อชาติหรือระเบียบราชการต่อแรงงานข้ามชาติ กำลังสร้างวิกฤตวกวน ซ้ำซ้อน และยุ่งยาก และยังเปิดช่องทางให้นายหน้าเถื่อนและคิวผีทำร้ายแรงงานเมียนมาอยู่ซ้ำ ๆ และมองไม่เห็นความเป็นจริงที่ว่า พวกเขาก็เป็นมนุษย์ที่มีฝันเหมือนกับเรา

นทธร เกตุชู
Economy,Inequality,Welfare state

ความใหม่และความท้าทายของ “บ้านเพื่อคนไทย”

Reading Time: 3 minutes โครงการบ้านเพื่อคนไทยกับความท้าทายเพื่อบ้านหลังแรกของประชาชน ในขณะที่ปฏิกิริยาส่วนใหญ่มาจากภาคธุรกิจอสังหาริมทรัพย์ที่ออกมาในทางไม่ค่อยเห็นด้วย เพราะเกรงว่า จะซ้ำเติมตลาดอสังหาริมทรัพย์ที่ยังมีบ้านคงค้างรอขายอยู่ในตลาดเป็นจำนวนมาก
รัฐบาลแพทองธารจะบรรลุผลเพื่อแก้ปัญหาที่อยู่อาศัยได้อย่างไรบ้าง

รศ.ดร.บุญเลิศ วิเศษปรีชา
Crack Politics

นิติรัฐนิติธรรมที่ถูกพรากจากรัฐธรรมนูญ

Reading Time: 2 minutes ระบบรัฐสภาอ่อนแอ ประชาชนเสื่อมศรัทธา อำนาจตุลาการล้นเกินไร้ซึ่งการปรับตัว ขาดการยึดโยงกับประชาชน สิ่งเหล่านี้ คือผลลัพธ์ของการปฏิรูปการเมืองที่อ้างหลักการปกครองโดยประชาธิปไตย หนึ่งในมุมมองของนักวิชาการที่มองข้ามช็อตสุดท้ายหากผู้คนในระบบก้มหน้ายินยอมต่อปัญหาที่มีอยู่ เมื่อถึงช่วงเวลาที่ระบบอำนาจทางกฎหมายพังทลาย ผู้ที่ได้รับผลกระทบมากที่สุดคือประชาชน

ณัฐณิชา มีนาภา

JUST WATCH IT
Lorem ipsum dolor

I THINK, THEREFORE I AM