การเมือง Archives - Page 4 of 6 - Decode

TAG การเมือง
Lorem ipsum dolor sit amet.

Columnist

“อเมริกาแทรกแซงไทย” ความเชื่อ ความจริง ความลวง

Reading Time: 2 minutes เหตุใดจึงมีความพยายามผลิต เผยแพร่ และโหมกระพือทฤษฎีสมคบคิด (conspiracy theory) ดังกล่าวในระยะเวลานี้ที่การเมืองไทยกำลังอยู่ในช่วงเวลาของการตั้งรัฐบาลใหม่หลังการเลือกตั้ง และการปลุกกระแส “อเมริกาแทรกแซงไทย” เอื้ออำนวยให้กลุ่มการเมืองใดได้ประโยชน์ และจะส่งผลกระทบอย่างไรต่อความสัมพันธ์ทางการทูตระหว่างไทยกับสหรัฐและประเทศอื่น ๆ ในภูมิภาค

การเมือง

โฉมหน้า 14 ตุลา 2563 การเมืองของการนิยาม ‘การเมืองวัฒนธรรม’ ของคนรุ่นใหม่

Reading Time: < 1 minute เยาวชนคนรุ่นใหม่ในปี 2563 มาพร้อมกับคุณสมบัติ 2 สิ่งที่เด่นชัดคือ การคิดเชิงเชิงวิพากษ์ (critical thinking) และความสนใจต่อประเด็นปัญหาคุณภาพชีวิต พวกเขาไม่ได้คิดเห็นไปในทางเดียวกันหมด แม้แต่คนที่อยู่ในกลุ่มที่เคลื่อนไหวด้วยกัน ก็มีความแตกต่างหลากหลายทางความคิดและถกเถียงกัน

รศ.ดร.ประจักษ์ ก้องกีรติ
การเมือง

รุ่งอรุณของคอซอง กระโปรงบานบนจุดนัดพบซอย‘นมสด’ GIRLS! Let’s speak out! เปล่งเสียง! ปลุกการเมืองให้ตื่นขึ้น เดบิวต์ครูในศตวรรษที่ 21

Reading Time: 4 minutes อาจจะถึงเวลาแล้วที่เราทั้งสังคมต้องตั้งคำถามกับสิ่งที่เกิดขึ้น ว่าภายใต้ดีกรีความโกรธที่ทะลุปรอทแตกของนักเรียนไทย แท้จริงแล้วพวกเขากำลังเผชิญหน้ากับสิ่งใดในพื้นที่(เคย)ปลอดภัยอย่างโรงเรียน Decode เดินทางไปยังโรงเรียนเบญจมราชาลัย ในพระบรมราชูปถัมภ์ เพื่อพูดคุยกับ เอ๋-วารุณี ทองอุ่น ผู้ก่อตั้งกลุ่ม บร.ไม่ง้อเผด็จการ หนึ่งในแนวร่วมกลุ่ม sisterhood ที่ขับเคลื่อนประเด็นสิทธิเสรีภาพของนักเรียนหญิงและกลุ่ม LGBTQI เอ๋ย้อนให้เราฟังถึงอะไรคือสิ่งที่ ‘นักเรียนหญิงไทย’ รวมไปถึง ‘ลูกสาวไทย’ ในวันนี้ต้องเจอ และความโกรธจากการโดนละเมิดสิทธิ์จุดประกายอะไรในตัวพวกเธอ พร้อมทั้งมองไปหาอนาคตที่รอบนี้พวกเธอขอเป็นคนกำหนดเองว่า โรงเรียนในฝันของนักเรียนสมัยนี้ควรเป็นอย่างไร

ภาวิณี คงฤทธิ์
การเมือง

Family Zone จูงมือมาม็อบ

Reading Time: 2 minutes Family Zone จูงมือมาม็อบ ปรากฏการณ์ทลายความกลัวของคนต่างวัยในครอบครัว บ้างเห็นต่าง/บ้างเห็นร่วม แต่การชุมนุมรอบนี้ เราเห็นหนุ่มสาว จูงมือพ่อแม่ในวัยทำงานตอนปลาย มาร่วมฟังประเด็นปราศรัยถึงท้องสนามหลวง

Decode
การเมือง

คนรุ่นใหม่ รัฐสวัสดิการ และสังคมนิยมประชาธิปไตย : เมื่อระบบทุนนิยมล้าหลังเกินไป และรัฐสภายังก้าวหน้าไม่มากพอ

Reading Time: 2 minutes รัฐสวัสดิการในสายตาของพวกเขาคือการหมุนเปลี่ยนวิธีคิดทางเศรษฐกิจ ไม่ใช่การถกเถียงว่าคุ้มค่าหรือไม่ ทำให้เศรษฐกิจขยายตัวได้เท่าไร แต่คือการวางรากฐานทางเศรษฐกิจการเมืองใหม่ ที่มองว่ามนุษย์ไม่ใช่เพียงแรงงานหรือผู้บริโภค แต่ในฐานะมนุษย์คนหนึ่ง ที่มีความฝัน มีสิทธิที่จะมีความสุข มีความรัก และพึงได้รับสิทธิในการเป็นเจ้าของประเทศนี้อย่างเท่าเทียมกัน

รศ.ดร.ษัษฐรัมย์ ธรรมบุษดี
การเมือง

‘คนดี’ ในสายตาพี่บ่าว ถอดรหัสวัฒนธรรมการเมืองภาคใต้

Reading Time: 4 minutes ในขณะที่นักศึกษาทั่วประเทศกำลังออกมาเคลื่อนไหวเพื่อเรียกร้องประชาธิปไตยอย่างคึกคัก นักศึกษาใน 11 จังหวัดภาคใต้กลับมีการเคลื่อนไหวที่แผ่วลงหากเทียบกับการเคลื่อนไหว ณ ครั้งที่กลุ่มกปปส. ลุกขึ้นมาชัตดาวน์ประเทศไทย ด้วยเหตุนี้เอง Decode จึงลงใต้เพื่อไปพูดคุยกับ ผศ. ดร. บูฆอรี ยีหมะ อาจารย์ประจำหลักสูตรรัฐประศาสนศาสตร์ คณะมนุษยศาสตร์และสังคมศาสตร์ มหาวิทยาลัยราชภัฎสงขลา ถึงประเด็นวัฒนธรรมการเมืองภาคใต้ว่า มีปัจจัยใดบ้างที่หล่อหลอมให้คนใต้มีวัฒนธรรมการเมืองนิยม ‘คนดี’ พร้อมทั้งตอบข้อสงสัยยอดฮิตว่า ทำไมคนใต้ถึงรักพรรคประชาธิปัตย์ และ การพ่ายแพ้ (อย่างยับเยิน) ในการเลือกตั้งครั้งที่ผ่านมาสะท้อนอะไรในวันนี้

ภาวิณี คงฤทธิ์
การเมือง

‘เราชนะแล้ว’ ใคร ‘ปลดแอก’ ถอดความสัมพันธ์ระหว่างภาษา กาลเวลา และประชาธิปไตยข้ามรุ่น

Reading Time: 4 minutes ถอดรหัสที่มาของคำว่า ‘ปลดแอก’ ในความหมายของกลุ่ม Free people ว่า สำหรับพวกเขาแล้ว ‘แอก’ นี้คืออะไร และนัยยะเบื้องหลังการก่อตั้งองค์กรใหม่อย่าง ‘คณะประชาชนปลดแอก’ ขึ้นมา มีจุดประสงค์อย่างไร ปิดท้ายด้วยคำถามที่ว่า เขามองเห็นชัยชนะจากการต่อสู้ในครั้งนี้แล้วหรือยัง นอกจากนี้เพื่อไม่ให้ดีกรีของบทความนี้ร้อนแรงจนเกินไป Decode เลยชวน ครูทอม คำไทย จักรกฤต โยมพยอม มาเล่าเชิงอรรถสนุกๆ ของ คำว่าปลดแอกว่า คำคำนี้ถูกใช้อยู่ในบริบทไหนบ้าง และ ในฐานะครูภาษาไทย เขาคิดเห็นอย่างที่ภาษาภายในม็อบทุกวันนี้ปังปุริเย่ขึ้นทุกวันจนหลายคนตามไม่ทัน

ภาวิณี คงฤทธิ์
การเมือง

เพดานของคนข่าว ในวิกฤต(ศรัทธา)มีข้อจำกัด และการกลับมาของสื่อมืออาชีพ-พื้นที่กลาง ทำยากแต่จำเป็นต้องทำ

Reading Time: 3 minutes Decode ขอจ่อไมค์ไปที่นักข่าวจากสื่อทุกแขนง ไม่ว่าจะเป็นสื่อกระแสหลัก หรือ สื่อออนไลน์ เพื่อถามถึงเงื่อนไขในการทำงานของสื่อมวลชน ณ วันนี้ ว่าแม้ใจอยากจะรายงานแต่เหตุผลอะไรที่กลบเสียงนั้นให้หายไป และพวกเขามีความคิดเห็นอย่างไรกับการที่ประชาชนเรียกร้องให้สื่อกลับมาทำหน้าที่ (เสียที) พร้อมทั้งร่วมหาคำตอบกับโจทย์สุดหินสำหรับคนทำสื่อ ว่าในวันที่เพดานขยายกว้างขึ้นไปทุกที เราชาวสื่อมวลชนจะรายงานข่าวนี้อย่างไร

ภาวิณี คงฤทธิ์
การเมือง

#มหาลัยมีไว้ทำไม ว่าด้วยเรื่องบทบาท’มหาลัย’ ในการเคลื่อนไหวของนักศึกษา

Reading Time: 3 minutes Decode จึงชวน ผศ. ดร. ษัษฐรัมย์ ธรรมบุษดี อาจารย์ประจำวิทยาลัยสหวิทยาการ มหาวิทยาลัยธรรมศาสตร์ มาร่วมถอดรหัสหน้าที่ของมหาวิทยาลัยในวันที่นักศึกษาลุกมาเคลื่อนไหว โดยเริ่มต้นตั้งแต่การวิเคราะห์ตัวละครนักศึกษาในขบวนการที่เปลี่ยนแปลงไป ทั้งความคิดตั้งต้นและการสื่อสารที่เลือกใช้ ไปจนถึงร่วมมองหาแนวทางที่มหาวิทยาลัยควรทำเพื่อรักษาไว้ซึ่งสิทธิและเสรีภาพอย่างแท้จริง

ภาวิณี คงฤทธิ์
การเมือง

อาการ Echo Chamber อัลกอริทึมของความเห็นต่าง สื่อกระแสหลักอยู่ตรงไหนของการแก้ปัญหา

Reading Time: 2 minutes วันนี้เราเห็นนักเรียน นักศึกษา คนรุ่นใหม่นัดกันทางออนไลน์ และเจอกันออฟไลน์เพื่อทำกิจกรรมทางการเมืองร่วมกัน ในภาวะที่ข่าวสารท่วมท้น เราเลือกรับสื่อที่เราสนใจได้ เลือกติดตามคนที่มีความเชื่อเดียวกัน ความหลากหลายวันนี้หมายถึง “ความเห็นต่าง” และเข้าใจการมีอยู่จริงของฝ่ายเห็นต่างอย่างไร

กัลยาวีร์ แววคล้ายหงษ์
การเมือง

ปีนี้ไม่มีเงียบ! ระบอบประยุทธ์ฯ และการกลับมาของสตรองแมน ยินดีต้อนรับสู่…เฟสสอง

Reading Time: 2 minutes กรุณา…ปรับโหมด เพราะการเมืองไทยปีนี้จะไม่เงียบ ช่วงหัวเลี้ยวหัวต่อในระยะเปลี่ยนผ่านประเทศไปสู่ประชาธิปไตยโดยไม่ทิ้งใครไว้ข้างหลัง ทั้งเป็นปีแรกที่ Decode ตั้งต้นถอดโจทย์อนาคตไปสู่สิ่งที่ดีกว่า คู่ขนานกับอาฟเตอร์ช็อกการเมืองไทยในเฟสใหม่ หลังเหตุแผ่นดินไหวการเมืองไทยในช่วงรัฐประหารปี 2557 ปิดฉากความขัดแย้งของขบวนการสีเสื้อที่ลากยาวมากว่า 10 ปี สิ้นสุดลง

ภัทราภรณ์ ศรีทองแท้