14 ตุลา Archives - Decode

TAG 14 ตุลา
Lorem ipsum dolor sit amet.

Economy

แสนยานุภาพของขบวนการแรงงาน สายธารแห่งการลุกขึ้นสู้ [ตอนที่ 2]

Reading Time: 3 minutes คนทำงาน ฉัตรชัย พุ่มพวง สายธารการลุกขึ้นสู้และชัยชนะของขบวนแรงงานในสังคมไทย ในยุคต้นสมบูรณาญาสิทธิราชย์หลังจากที่ ร.5 รวบอำนาจจากเหล่าเจ้าขุนมูลนายทั่วอาณาบริเวณที่เหลือเป็นรัฐกันชนระหว่างเจ้าอาณานิคมทั้งฝรั่งเศสทั้งอังกฤษได้สำเร็จ ก่อเกิดเป็นรัฐสมบูรณาญาสิทธิราชย์ขึ้นเป็นครั้งแรก พร้อมกันนั้นได้มีการยกเลิกระบบไพร่ทาสไป เนื่องจากมีแรงงานจีนอพยพได้หลั่งไหลเข้ามาในสยามจำนวนมากตั้งแต่สมัย ร.4 ทำให้ต้นทุนของระบบไพร่ทาส เริ่มที่จะแพงและไร้ประสิทธิภาพ เมื่อเทียบกับแรงงานรับจ้างอย่างแรงงานจีน มีการปฏิรูประบบภาษีให้รวมศูนย์มาที่กษัตริย์โดยให้ทุกคนจ่ายภาษีแทนการเรียกเกณฑ์แรงงานบังคับ เมื่อสัดส่วนของแรงงานจีนในสังคมสยามมีมากขึ้น ๆ ปัญหาเรื่องสภาพการทำงานที่ย่ำแย่ จึงเข้มข้นมากขึ้นเรื่อย ๆ ปกติแล้ว เมื่อคนจีนอพยพไปอยู่ที่ไหนในโลก ก็จะมีการพยายามรวมกลุ่มกัน เป็นที่มาของคำว่า “อั้งยี่” ที่เป็นคำใช้เรียกองค์กรของแรงงานจีน ซึ่งจริง ๆ แล้วทำหน้าที่คล้ายกับสหภาพแรงงานเพื่อต่อรองกับรัฐและทุนนั่นเอง กุลีจีนเหล่านี้เป็นแรงงานกลุ่มแรก ๆ ที่สไตร์คหยุดงานในสยาม ไม่ว่าจะเป็นแรงงานจีนในเหมืองที่ภาคใต้ หรือ กุลีลากรถและกรรมกรแบกข้าวสารในพระนคร ช่วงแรกรัฐบาลสมบูรณาฯ ก็รู้สึกสะดวกในการดีลกับผู้นำของอั้งยี่ทำให้ควบคุมจัดการพวกแรงงานจีนทำได้ง่าย แต่พอนานไปเข้าก็รู้สึกได้ถึงอำนาจต่อรองที่มากเกินไป เพราะมีเหตุการณ์ที่แรงงานจีนเหล่านี้สไตร์คหยุดงาน จึงทำให้ต้องออกกฎหมายอั้งยี่ซ่องโจรออกมา เพื่อกดปราบแรงงานจีนเหล่านี้ เมื่อเกิดการปฏิวัติเปลี่ยนแปลงการปกครองโดยคณะราษฎรในปี 2475 ขบวนแรงงานในสังคมไทยก็เติบโตมากขึ้นเรื่อย ๆ บางยุครวมตัวกันได้อย่างแข็งขัน บางยุคถูกฝั่งรัฐและทุนโต้กลับกดปราบ โดยเฉพาะยุคเผด็จการสฤษดิ์ ถนอม ประภาส ที่มีการใช้มาตรา 17 ประหารสุภชัย ศรีสติ ผู้นำแรงงาน […]

14 ตุลา

แสนยานุภาพของขบวนการแรงงาน สายธารแห่งการลุกขึ้นสู้ [ตอนที่ 2]

Reading Time: 3 minutes คนทำงาน ฉัตรชัย พุ่มพวง สายธารการลุกขึ้นสู้และชัยชนะของขบวนแรงงานในสังคมไทย ในยุคต้นสมบูรณาญาสิทธิราชย์หลังจากที่ ร.5 รวบอำนาจจากเหล่าเจ้าขุนมูลนายทั่วอาณาบริเวณที่เหลือเป็นรัฐกันชนระหว่างเจ้าอาณานิคมทั้งฝรั่งเศสทั้งอังกฤษได้สำเร็จ ก่อเกิดเป็นรัฐสมบูรณาญาสิทธิราชย์ขึ้นเป็นครั้งแรก พร้อมกันนั้นได้มีการยกเลิกระบบไพร่ทาสไป เนื่องจากมีแรงงานจีนอพยพได้หลั่งไหลเข้ามาในสยามจำนวนมากตั้งแต่สมัย ร.4 ทำให้ต้นทุนของระบบไพร่ทาส เริ่มที่จะแพงและไร้ประสิทธิภาพ เมื่อเทียบกับแรงงานรับจ้างอย่างแรงงานจีน มีการปฏิรูประบบภาษีให้รวมศูนย์มาที่กษัตริย์โดยให้ทุกคนจ่ายภาษีแทนการเรียกเกณฑ์แรงงานบังคับ เมื่อสัดส่วนของแรงงานจีนในสังคมสยามมีมากขึ้น ๆ ปัญหาเรื่องสภาพการทำงานที่ย่ำแย่ จึงเข้มข้นมากขึ้นเรื่อย ๆ ปกติแล้ว เมื่อคนจีนอพยพไปอยู่ที่ไหนในโลก ก็จะมีการพยายามรวมกลุ่มกัน เป็นที่มาของคำว่า “อั้งยี่” ที่เป็นคำใช้เรียกองค์กรของแรงงานจีน ซึ่งจริง ๆ แล้วทำหน้าที่คล้ายกับสหภาพแรงงานเพื่อต่อรองกับรัฐและทุนนั่นเอง กุลีจีนเหล่านี้เป็นแรงงานกลุ่มแรก ๆ ที่สไตร์คหยุดงานในสยาม ไม่ว่าจะเป็นแรงงานจีนในเหมืองที่ภาคใต้ หรือ กุลีลากรถและกรรมกรแบกข้าวสารในพระนคร ช่วงแรกรัฐบาลสมบูรณาฯ ก็รู้สึกสะดวกในการดีลกับผู้นำของอั้งยี่ทำให้ควบคุมจัดการพวกแรงงานจีนทำได้ง่าย แต่พอนานไปเข้าก็รู้สึกได้ถึงอำนาจต่อรองที่มากเกินไป เพราะมีเหตุการณ์ที่แรงงานจีนเหล่านี้สไตร์คหยุดงาน จึงทำให้ต้องออกกฎหมายอั้งยี่ซ่องโจรออกมา เพื่อกดปราบแรงงานจีนเหล่านี้ เมื่อเกิดการปฏิวัติเปลี่ยนแปลงการปกครองโดยคณะราษฎรในปี 2475 ขบวนแรงงานในสังคมไทยก็เติบโตมากขึ้นเรื่อย ๆ บางยุครวมตัวกันได้อย่างแข็งขัน บางยุคถูกฝั่งรัฐและทุนโต้กลับกดปราบ โดยเฉพาะยุคเผด็จการสฤษดิ์ ถนอม ประภาส ที่มีการใช้มาตรา 17 ประหารสุภชัย ศรีสติ ผู้นำแรงงาน […]

ฉัตรชัย พุ่มพวง
14 ตุลา

อ่านประวัติศาสตร์และการเมืองไทยปี 2566 ผ่านหนังสือ 10 เล่ม

Reading Time: 4 minutes มีหนังสือที่มีเนื้อหาเกี่ยวข้องกับการเคลื่อนไหวของประชาชนครั้งประวัติศาสตร์นี้ออกมาหลายเล่ม ในขณะที่หนังสือที่เกี่ยวข้องกับบทบาทของกองทัพ และประวัติศาสตร์สยามช่วงรอยต่อของการเปลี่ยนผ่านจากรัฐสมัยเก่าสู่รัฐชาติและความทันสมัยก็ถือเป็นธีมที่โดดเด่นของวงการหนังสือประวัติศาสตร์สังคมการเมืองในปีนี้

รศ.ดร.ประจักษ์ ก้องกีรติ
14 ตุลา

รุ่นก่อนอยู่ป่า รุ่นนี้อยู่อย่างโดดเดี่ยว ความฝันที่ถูกช่วงชิงไปจากเบสท์-วรรจธนภูมิ

Reading Time: 2 minutes สายธารของประชาธิปไตยไม่เคยหยุดนิ่ง จากคนเดือนตุลาสู่แร็ปเปอร์คลองเตย พละกำลังทางจิตใจได้หล่นหายไป และ ‘ความโดดเดี่ยว’กลายเป็นสิ่งที่นักเคลื่อนไหวเหล่านี้ต้องเผชญ

ธเนศ แสงทองศรีกมล
14 ตุลา

คิดถึงวีรชนคนสามัญ: 50 ปี 14 ตุลา

Reading Time: 3 minutes “แม่ผมมีร้านขายของในกรมทหารที่สนามบินน้ำ ผมช่วยแม่ขายของ” ประเวศเล่า “ช่วงนั้นทหารเขาปิดไม่ให้คนเข้าออก แล้วก่อนหน้านั้นมันก็มีการชุมนุมมาเรื่อย ผมอยากไปแต่ก็ไปไม่ได้เพราะเขาไม่ให้ออกจากค่ายทหาร พอมาถึงวันนั้นมันเป็นวันอาทิตย์ วันหยุด ผมแอบมุดรั้วหนีออกไปจนได้ ก็ไม่รู้อะไรมันดลใจให้ออกไป” แล้วประเวศก็ยกเหตุของสิ่งที่เกิดขึ้นกับเขาในวันนั้นให้เป็นเรื่องของการที่ “คนมันจะโดนยิงน่ะ”

นวลน้อย ธรรมเสถียร
14 ตุลา

ย้ายขั้วการเมือง เรื่องเล่าของ ‘เนาวรัตน์-ธัชพงศ์’ เมื่อเราในวันนี้เป็นคนละคนกับเมื่อวาน

Reading Time: 3 minutes ‘คนเราสามารถเปลี่ยนจุดยืนทางการเมืองได้หรือ’ มันง่ายดายเหมือนเปลี่ยนสไตล์การแต่งตัว หรือยากเหมือนเปลี่ยนยี่ห้อบุหรี่ มันซับซ้อนค่อย ๆ ซึมแทรกมาเหมือนความรัก หรือเรียบง่ายโจ่งแจ้งเหมือนความเกลียดชัง ท่ามกลางพลวัตรและความเปลี่ยนแปลงของสังคมไทยแบบที่เราไม่มีทางกลับไปเป็นเหมือนเดิมอีกต่อไป

พริม มณีโชติ
14 ตุลา

อย่าให้เกิด 6 ตุลา ภาค2

Reading Time: < 1 minute ปีนี้ครบรอบ 44 ปีเหตุการณ์ 6 ตุลาฯ 2519 ซึ่งเป็นอาชญากรรมรัฐที่โหดร้ายรุนแรงที่สุดในประวัติศาสตร์ไทยสมัยใหม่ เมื่องรัฐระดมกำลังเจ้าห้นาที่จำนวนมากพร้อมกับอาวุธสงครามครบมือเข้าปราบปรามสังหารหมู่นักศึกษาและประชาชนที่ชุมนุมอยู่ในมหาวิทยาลัยธรรมศาสตร์

รศ.ดร.ประจักษ์ ก้องกีรติ
14 ตุลา

คำถามท้ายบทเรียนเป็นอำนาจที่รัฐอนุญาตให้ถาม กับการลาออกของ ‘ครูพล’ ชวนเด็กล้ำเส้นนอกบทเรียน

Reading Time: 3 minutes ครูผู้ตั้งคำถามต่อวิธีการสอนที่ดีตามแบบฉบับที่รัฐคาดหวัง กล่าวกับฉันในวันที่เราถามถึงอำนาจที่รัฐมอบให้เรารับรู้ประวัติศาสตร์ชาติ คำถามที่เราถามได้อย่างเปิดกว้างวนเวียนในเวิ้งคำตอบที่รัฐมอบให้ในวิชาเรียน แบบฝึกหัดท้ายบทเรียนของวิชาประวัติศาสตร์แต่ละบทคือใจความสำคัญของสาระการเรียนรู้แต่ละตอนที่รัฐออกแบบและอนุญาตให้นักเรียนในฐานะพลเมืองของรัฐ รับรู้ จดจำ และมีมุมมองต่อประวัติศาสตร์ที่เขียนขึ้น

ทิพากร ไชย​ประสิทธิ์​
14 ตุลา

เพราะ…นักรบมีพื้นที่มากกว่านักการทูตในประวัติศาสตร์ไทย “เดี่ยว ธงชัย”ผู้หลงใหลประวัติศาสตร์ แต่ไม่หลงรักอย่างที่ควรจะเป็น

Reading Time: 3 minutes “ผมว่าการเปลี่ยนแปลงทุกครั้งมีความขัดแย้ง ที่ไหนมีความขัดแย้ง ที่นั่นคือที่ที่มีชีวิต ความขัดแย้งมันอยู่ในตัวเราตลอด ที่ไหนไม่มีความขัดแย้งที่นั่นคือตายแล้ว” ฟังเผิน ๆ หลายคนอาจจะตีความว่าประโยคนี้คงหนีไม่พ้นซ่อนประเด็นการเคลื่อนไหวทางการเมือง ที่กำลังร้อนแรงทะลุปรอทอยู่ขณะนี้เป็นแน่ แต่ไม่ใช่สำหรับ “ธงชัย อัชฌายกชาติ” หรือ เดี่ยว นักศึกษาชั้นปี 1 สาขาประวัติศาสตร์ คณะศิลปศาสตร์ มหาวิทยาลัยธรรมศาสตร์ที่กำลังสะท้อนให้เห็นว่า เหตุใดการเปิดพื้นที่ให้ถกเถียงในห้องเรียนประวัติศาสตร์จึงควรเกิดขึ้น ไม่เช่นนั้นก็เท่ากับเป็นห้องเรียนที่รอการหายไปเท่านั้น

สมิตานัน หยงสตาร์