รศ.ดร.บุญเลิศ วิเศษปรีชา, Author at Decode
Human & Society

การกินเหล้าในมุมมองของคนจน

Reading Time: 3 minutes ยกแก้ววัฒนธรรมการเมาของคนจนเมือง กับระดับความเมาแบบมานุษยวิทยาในคอลัมน์ชาวบ้านชาวช่อง เมื่อเงื่อนไขทางชนชั้น อาชีพการงานที่ต่างกันย่อมก็มีผลต่อการดื่มที่ต่างกัน เช่น อาชีพที่ใช้ร่างกายหนักอย่างงานก่อสร้าง หรือช่างเชื่อมที่ปวดตา แล้วต้องอาศัยการดื่มเหล้าเพื่อช่วยให้นอนหลับ เป็นเงื่อนไขการทำงานของคนจนที่นำไปสู่การดื่มซึ่งต่างจากพนักงานออฟฟิศ

รศ.ดร.บุญเลิศ วิเศษปรีชา

วรรณาคดี – โชกโชน กล้าแกร่ง แพรวพราว

Reading Time: 2 minutes วรรณาคดีผ่านแว่นตาของ รศ.ดร.บุญเลิศ เป็นการบอกเล่าประสบการณ์การถูกกดขี่ ของผู้หญิงในประเทศโลกที่สาม และเป็นผู้หญิงที่เป็นชนชั้นล่าง ที่ถูกกดขี่ในหลายสนาม ย่อมต่างจาก ความรู้สึกถูกเอาเปรียบ ของคนมีฐานะมีการศึกษา แต่ เป็นเรื่องราวที่สังคมเรายังรับรู้น้อย เมื่อเทียบกับประสบการณ์อันหนักหน่วงที่คนจำนวนมากกำลังแบกอยู่

รศ.ดร.บุญเลิศ วิเศษปรีชา
รศ.ดร.บุญเลิศ วิเศษปรีชา

Gentrification คำนี้ที่ชื่นชมหรือรู้ทัน? คนรวยย้ายเข้า คนจนย้ายออก

Reading Time: 3 minutes ขออธิบายแนวคิด gentrification จากมุมมองแนวทฤษฎีเมืองวิพากษ์ (critical urban theory) ซึ่งมีจุดยืนวิจารณ์การพัฒนาเมืองกระแสหลักที่มุ่งเน้นการเติบโตของเมือง ทำให้กลุ่มทุนขนาดใหญ่ได้ประโยชน์ และละเลยผู้ที่ถูกบังคับให้ย้ายถิ่น (displaced) 

รศ.ดร.บุญเลิศ วิเศษปรีชา
รศ.ดร.บุญเลิศ วิเศษปรีชา

#สุขุมวิท11 เราต่างคือผู้ถูกกระทำ

Reading Time: 2 minutes เส้นแบ่งระหว่างเหยื่อและผู้ถูกกระทำพร่าเลือน กลายเป็นพื้นที่สีเทา (grey zone) ที่ไม่อาจแบ่งแยกแบบ ขาว-ดำ ได้

รศ.ดร.บุญเลิศ วิเศษปรีชา
รศ.ดร.บุญเลิศ วิเศษปรีชา

สนามเล็ก ๆ ของเยาวชน

Reading Time: 3 minutes เรื่องสนามเล็กๆ ในหมู่บ้าน ชวนให้เรานึกเห็นประเด็น การแบ่งเขาแบ่งเรา แบ่งชั้นระหว่างคนใน/คนนอกหมู่บ้าน  และพื้นที่ออกกำลังกายสำหรับเยาวชนที่หายากขึ้นทุกวัน  

รศ.ดร.บุญเลิศ วิเศษปรีชา
รศ.ดร.บุญเลิศ วิเศษปรีชา

ผังเมืองก็เรื่องของชาวบ้าน

Reading Time: 2 minutes เพราะผังเมืองเป็นมากกว่าการกำหนดการใช้ที่ดิน แต่เป็นเรื่องของการต่อรองของคนในท้องถิ่นว่าต้องการเห็นเมืองพัฒนาไปในทิศทางไหน กระจายตัวอย่างไร

รศ.ดร.บุญเลิศ วิเศษปรีชา
รศ.ดร.บุญเลิศ วิเศษปรีชา

ดีกรีของความเป็นชุมชน

Reading Time: 3 minutes แม้ว่าปัจจุบันคนจำนวนมากพูดคุยผ่านสื่อสังคมออนไลน์บ่อยครั้งกว่าพูดคุยเพื่อนบ้านที่อาศัยอยู่ติดกันเสียอีก แต่นั่นไม่ได้หมายความว่าชุมชนบนฐานของสถานที่ (place-based community) ที่ผู้คนพบหน้าค่าตากันจริง ๆ จะหมดความหมายโดยสิ้นเชิง และหากเปรียบเทียบกันแล้ว สถานที่ที่ผู้คนได้พบหน้ากันตัวเป็น ๆ ช่วยส่งเสริมให้เกิดความเหนียวแน่นมากกว่าชุมชนไร้สถานที่ (place-less community) เช่น ชุมชนบนโลกออนไลน์

รศ.ดร.บุญเลิศ วิเศษปรีชา