ษัษฐรัมย์ ธรรมบุษดี Archives - Page 4 of 6 - Decode

TAG ษัษฐรัมย์ ธรรมบุษดี
Lorem ipsum dolor sit amet.

Columnist

Post-Election (3) จับสัญญาณการเปลี่ยนแปลงสังคม เมื่อประชาชนไม่ได้เป็นของตายของใคร

Reading Time: < 1 minute การเปลี่ยนแปลงทางสังคมจะเกิดขึ้นไวกว่าการเปลี่ยนแปลงทางการเมืองและเศรษฐกิจ ซึ่งอาจเกิดได้ทันทีหลังการเลือกตั้ง ดังนั้นในกรณีของสังคมไทยแม้การเลือกตั้ง อาจยังไม่ได้เห็นการเปลี่ยนแปลงทางอำนาจรัฐที่ชัดเจน

ษัษฐรัมย์ ธรรมบุษดี

เพนกวิน – พริษฐ์ ชิวารักษ์ ความฝันใหญ่เกินร่างกาย หัวใจใหญ่กว่าประเทศไทย

Reading Time: 2 minutes เมื่อนึกดูแล้วนับจากผมรู้จัก เพนกวิน-พริษฐ์ มันอาจเป็นเรื่องตลกที่แทบทุกครั้งผมจะได้ยินคำพูดในลักษณะนี้ว่า “กระแสกำลังมาแล้วครับอาจารย์” เขาเป็นคนเชื่อในการต่อสู้ ในการเปลี่ยนแปลง แม้ในวันที่ยากที่สุด ในวันที่ดูไร้ทาง วันที่โดดเดี่ยว แต่สิ่งที่เขาไม่เคยเลิกที่จะพูดคือ “กระแสกำลังมาแล้วครับอาจารย์”

รศ.ดร.ษัษฐรัมย์ ธรรมบุษดี
ษัษฐรัมย์ ธรรมบุษดี

ขนมปังและดอกกุหลาบ : อ่าน Feminism for 99% เลิกเดินทีละก้าว เลิกกินข้าวทีละคำ ผู้ถูกกดขี่มีเป้าเดียวคือสังคมนิยม

Reading Time: 2 minutes มีโอกาสได้อ่านหนังสือ Feminism for 99% โดย ชินเซีย อารุซชา ,ติถี ภัฏฏาจารย์ และ แนนซี่ เฟรเซอร์ แปลโดย อรชร ดำรงจิตติ ซึ่งเผยแพร่โดยสำนักพิมพ์ SOI โดยส่วนตัวแล้วนับเป็นหนังสือสตรีนิยมที่ดีที่สุดในรอบหลายปีที่มีโอกาสได้อ่าน แต่สำหรับผู้คนทั่วไปเมื่อเห็นชื่อหนังสือย่อมคิดว่าเป็นหนังสือที่น่าจะพูดถึงสิทธิสตรี การต่อต้านผู้ชาย หรือการเพิ่มบทบาทของผู้หญิงในตำแหน่งสำคัญของประเทศ

รศ.ดร.ษัษฐรัมย์ ธรรมบุษดี
ษัษฐรัมย์ ธรรมบุษดี

ถึงชนชั้นปกครอง “พวกเราไม่ได้เป็นปีศาจร้าย” ความเจ็บปวดของคนหนุ่มสาวที่กำลังอกหัก เพราะรัก “รัฐสวัสดิการถ้วนหน้า”

Reading Time: 3 minutes ปี 2563 เป็นปีที่กระแสรัฐสวัสดิการถูกพูดถึงมากจากแม่สายถึงยะลา จากมหาสารคาม ถึงนครปฐม หลายคนตั้งข้อสังเกตว่ากระแสดังกล่าวจะเลือนหายไปในปี 2564 แต่เป็นที่น่าสนใจมากว่าในช่วงสามเดือนแรกของปีกระแสนี้กลับเพิ่มสูงมากขึ้น และอยู่ในทุกขบวนการ ข้ามช่องว่างระหว่างวัย ข้ามประเด็นเมืองและชนบท ข้ามประเด็นนักวิชาการกับทฤษฎีและประชาชนในพื้นที่ รัฐสวัสดิการกลายเป็นประเด็นที่เชื่อมร้อยผู้คนเข้าไว้ด้วยกันอย่างมาก

รศ.ดร.ษัษฐรัมย์ ธรรมบุษดี
ษัษฐรัมย์ ธรรมบุษดี

“ไม่จำเป็นต้องสร้างบรรยากาศความกลัว” อาจารย์-นศ.แสดงจุดยืนเคียงข้างผู้ถูกตั้งข้อหา ม.112 เพราะปราศรัยเรียกร้องรัฐสวัสดิการ

Reading Time: 2 minutes อาจารย์และนักศึกษาจากศูนย์วิจัยรัฐสวัสดิการ วิทยาลัยสหวิทยาการ ม.ธรรมศาสตร์ และนักศึกษากลุ่ม TUMS Thammasat University Marxism Studies ถือป้ายและมอบดอกไม้ให้กับผู้ถูกตั้งข้อหา ม.112, ม.116, ม.215 และ พ.ร.ก.ฉุกเฉิน จากกิจกรรมการปราศรัยและชุมนุมที่แยกเกียกกาย เมื่อวันที่ 24 ก.ย.2563

กัลยาวีร์ แววคล้ายหงษ์
ษัษฐรัมย์ ธรรมบุษดี

เลิกจ้างเพราะเห็นต่างทางการเมือง ห้องขังที่มองไม่เห็นจากวัฒนธรรมอำนาจนิยมในองค์กร

Reading Time: 2 minutes อำนาจนิยมในองค์กรเป็นมือไม้สำคัญ กับอำนาจเผด็จการของการเมืองในระดับประเทศ เป็นจุดเริ่มต้นที่ทำให้ผู้คนต้องแยกชีวิตการทำงาน ชีวิตครอบครัว และการต่อสู้ทางการเมืองออกจากกัน และการที่ประเทศไทยเป็นหนึ่งในประเทศที่ระบบแรงงานสัมพันธ์และการรวมตัวในลักษณะสหภาพอยู่ในระดับต่ำผู้คนไม่คุ้นเคยกับการต่อสู้ต่อรองเพื่ออำนาจประชาธิปไตยในองค์กร

รศ.ดร.ษัษฐรัมย์ ธรรมบุษดี
ษัษฐรัมย์ ธรรมบุษดี

ถ้าทักษิณเป็นนายกฯ 20 ปี เราจะมีรัฐสวัสดิการแล้วหรือยัง ?

Reading Time: < 1 minute จากการที่อดีตนายกรัฐมนตรี ทักษิณ ชินวัตร ปรากฏตัวในแพลตฟอร์มสนทนา Club House พร้อมกับอดีตคณะทำงานพรรคไทยรักไทยเมื่อปี 2544-2548 แม้ประเด็นสนทนาจะนำสู่การตั้งคำถามในหลายประเด็นโดยเฉพาะอย่างยิ่งประเด็นทางด้านสังคม สิทธิมนุษยชน หรือรวมถึงความสัมพันธ์ทางการเมืองกับสถาบันพระมหากษัตริย์ กล่าวคือจากประเด็นข้างต้น อดีตนายกฯทักษิณ ชินวัตร ไม่ได้สะท้อนการปรับตัวตามความก้าวหน้าของประชาชนที่เกิดขึ้นในตลอดช่วงสองปีที่ผ่านมา แม้จะมีแง่มุมด้านเศรษฐกิจที่น่าสนใจและเชื่อว่าจะเป็นแนวทางสำคัญในการทำให้เศรษฐกิจฟื้นตัวหลังวิกฤติโรคระบาด

รศ.ดร.ษัษฐรัมย์ ธรรมบุษดี
ษัษฐรัมย์ ธรรมบุษดี

ซื้อ “ตั๋วช้าง” ตั้งแต่เกิดจนเกษียณ ใบเบิกทางเพื่อโกงความตาย แต่กลายเป็นเรื่องปกติในชีวิตที่ไร้รัฐสวัสดิการ

Reading Time: < 1 minute แม้ทุกคนจะทราบกันเป็นปกติถึงระบบการซื้อขายตำแหน่งในระบบราชการแต่การเปิดเผยแบบตรงไปตรงมา รวมถึงเอกสารขอความอนุเคราะห์อย่างเป็นทางการกลายเป็นสิ่งที่ชวนตั้งคำถามว่าในสังคมไทยเราสามารถยอมรับว่า “ตั๋ว” เป็นสิ่งปกติได้มากน้อยแค่ไหน หรือจริง ๆ เราทุกคนล้วนเคยใช้ “ตั๋วช้าง” ในรูปแบบที่แตกต่างกันในโครงสร้างสังคมที่เหลื่อมล้ำและต้องเกาะเกี่ยวระบบอุปถัมภ์

รศ.ดร.ษัษฐรัมย์ ธรรมบุษดี
ษัษฐรัมย์ ธรรมบุษดี

ก่อนศึกแดงเดือด เล่าเรื่องเหลื่อมล้ำและการต่อสู้ในอุตสาหกรรมอังกฤษ: สำนึกทางชนชั้นและหน่ออ่อนของสังคมนิยมในฟุตบอลอังกฤษ

Reading Time: 2 minutes คนไทยติดตามฟุตบอลยุโรปมากอันดับต้นๆ ของโลก แต่วันนี้สิ่งที่ผมอยากถ่ายทอดอาจไม่ใช่เรื่องการเชียร์ฟุตบอลของคนไทย แต่มีเรื่องราวสำคัญในสองเมืองที่เรามักไม่พูดถึงและมองข้ามไป

รศ.ดร.ษัษฐรัมย์ ธรรมบุษดี
ษัษฐรัมย์ ธรรมบุษดี

จินตนาการชีวิตใหม่ สังคมไทยหลังการเปลี่ยนแปลง ขอแค่ได้อยู่ในประเทศรัฐสวัสดิการถ้วนหน้า

Reading Time: 3 minutes ในการเคลื่อนไหวทางการเมืองมีคนรุ่นใหม่อีกจำนวนไม่น้อยทั้งในอดีตไล่มาจนปัจจุบัน ผมนำคำถามนี้ถามพวกเขา-เธอ “หากเราเกิดในประเทศรัฐสวัสดิการถ้วนหน้า และไม่ต้องต่อสู้กับเผด็จการการเมือง ข้อจำกัดทางเศรษฐกิจและจารีตประเพณี เราจะทำอะไรที่ต่างไปหรือไม่ ?”

รศ.ดร.ษัษฐรัมย์ ธรรมบุษดี
ษัษฐรัมย์ ธรรมบุษดี

นัดหยุดงาน-บอยคอตเจ้าหน้าที่ฝ่ายความมั่นคงทั่วประเทศ ยกระดับการสร้างประชาธิปไตยและรัฐสวัสดิการถ้วนหน้า

Reading Time: < 1 minute การนัดหยุดงานจำเป็นต้องมาพร้อมกับข้อเรียกร้อง ซึ่งคือการเปลี่ยนประเด็นปากท้องในชีวิตประจำวันสู่การเป็นประเด็นทางการเมือง ซึ่งมวลชนมีความยืดหยุ่นมากกว่ารัฐ มีความสามารถในการสื่อสารระหว่างกันได้ดีกว่ารัฐ และที่สำคัญมีประสบการณ์ร่วมต่อปัญหาทางเศรษฐกิจแบบเดียวกันและเหนียวแน่นระหว่างกัน

รศ.ดร.ษัษฐรัมย์ ธรรมบุษดี
ษัษฐรัมย์ ธรรมบุษดี

คนรุ่นใหม่ รัฐสวัสดิการ และสังคมนิยมประชาธิปไตย : เมื่อระบบทุนนิยมล้าหลังเกินไป และรัฐสภายังก้าวหน้าไม่มากพอ

Reading Time: 2 minutes รัฐสวัสดิการในสายตาของพวกเขาคือการหมุนเปลี่ยนวิธีคิดทางเศรษฐกิจ ไม่ใช่การถกเถียงว่าคุ้มค่าหรือไม่ ทำให้เศรษฐกิจขยายตัวได้เท่าไร แต่คือการวางรากฐานทางเศรษฐกิจการเมืองใหม่ ที่มองว่ามนุษย์ไม่ใช่เพียงแรงงานหรือผู้บริโภค แต่ในฐานะมนุษย์คนหนึ่ง ที่มีความฝัน มีสิทธิที่จะมีความสุข มีความรัก และพึงได้รับสิทธิในการเป็นเจ้าของประเทศนี้อย่างเท่าเทียมกัน

รศ.ดร.ษัษฐรัมย์ ธรรมบุษดี
ษัษฐรัมย์ ธรรมบุษดี

#มหาลัยมีไว้ทำไม ว่าด้วยเรื่องบทบาท’มหาลัย’ ในการเคลื่อนไหวของนักศึกษา

Reading Time: 3 minutes Decode จึงชวน ผศ. ดร. ษัษฐรัมย์ ธรรมบุษดี อาจารย์ประจำวิทยาลัยสหวิทยาการ มหาวิทยาลัยธรรมศาสตร์ มาร่วมถอดรหัสหน้าที่ของมหาวิทยาลัยในวันที่นักศึกษาลุกมาเคลื่อนไหว โดยเริ่มต้นตั้งแต่การวิเคราะห์ตัวละครนักศึกษาในขบวนการที่เปลี่ยนแปลงไป ทั้งความคิดตั้งต้นและการสื่อสารที่เลือกใช้ ไปจนถึงร่วมมองหาแนวทางที่มหาวิทยาลัยควรทำเพื่อรักษาไว้ซึ่งสิทธิและเสรีภาพอย่างแท้จริง

ภาวิณี คงฤทธิ์