Crack Politics Archives - Page 2 of 19 - Decode

CATEGORY Crack Politics
Lorem ipsum dolor sit amet.

Crack Politics

บางที “เราต้องการมากกว่าความรัก”

Reading Time: 2 minutes “หัวใจของเสรีภาพส่วนบุคคลอยู่ที่อิสรภาพในการเลือกว่าเราเป็นใคร รักใครที่เราปรารถนา และใช้ชีวิตที่ซื่อสัตย์ต่อตัวตนที่แท้จริงที่สุดของเรา” การดำรงไว้ซึ่งเสรีภาพนี้ต้องเป็นไปโดยไม่เพียงแต่ “ปราศจากความกลัวอันมาจากการกลั่นแกล้งเท่านั้น” หากแต่ยังต้องยินดีอย่างสุดหัวใจที่จะมองชาว LGBTQ+ ในฐานะ “พลเมืองที่มีความเสมอภาคของประเทศนี้” ก่อนจะพูดต่อว่า กรณีคำพิพากษาในปี ค.ศ. 2018 จะเกิดผลดีกว่านี้ ก็เมื่อชาวอินเดียทุกคนเปลี่ยนแปลงใจของตนที่จะมองชาว LGBTQ+ เสียใหม่

สุรัตน์ โหราชัยกุล
Crack Politics

50 ปีที่ ‘ยุ่งเหยิง ไม่ใช่อย่างงดงาม’ ความทรงจำ ’14 ตุลา’ ของสินธุ์สวัสดิ์ ยอดบางเตย

Reading Time: 3 minutes ได้อ่านมา สำหรับบางคน 14 ตุลาฯ คือวาระแห่งมหาปีติที่ประชาชนสามารถโค่นล้มเผด็จการได้ แต่บางคนก็ว่า 14 ตุลาฯ ไม่ใช่ชัยชนะของประชาชนอย่างแท้จริง เพราะหลังจากนั้นเพียง 3 ปี ประชาชนต้องนอนจมกองเลือดในวันที่ 6 ตุลาฯ ซ้ำร้าย! ทหารที่คิดว่าจะออกจากเวทีการเมืองไปแล้วก็หวนคืนมาอีกครั้งโดยการรัฐประหาร

ปิยวัฒน์ สีแตงสุก
Crack Politics

รุ่นก่อนอยู่ป่า รุ่นนี้อยู่อย่างโดดเดี่ยว ความฝันที่ถูกช่วงชิงไปจากเบสท์-วรรจธนภูมิ

Reading Time: 2 minutes สายธารของประชาธิปไตยไม่เคยหยุดนิ่ง จากคนเดือนตุลาสู่แร็ปเปอร์คลองเตย พละกำลังทางจิตใจได้หล่นหายไป และ ‘ความโดดเดี่ยว’กลายเป็นสิ่งที่นักเคลื่อนไหวเหล่านี้ต้องเผชญ

ธเนศ แสงทองศรีกมล
Crack Politics

คิดถึงวีรชนคนสามัญ: 50 ปี 14 ตุลา

Reading Time: 3 minutes “แม่ผมมีร้านขายของในกรมทหารที่สนามบินน้ำ ผมช่วยแม่ขายของ” ประเวศเล่า “ช่วงนั้นทหารเขาปิดไม่ให้คนเข้าออก แล้วก่อนหน้านั้นมันก็มีการชุมนุมมาเรื่อย ผมอยากไปแต่ก็ไปไม่ได้เพราะเขาไม่ให้ออกจากค่ายทหาร พอมาถึงวันนั้นมันเป็นวันอาทิตย์ วันหยุด ผมแอบมุดรั้วหนีออกไปจนได้ ก็ไม่รู้อะไรมันดลใจให้ออกไป” แล้วประเวศก็ยกเหตุของสิ่งที่เกิดขึ้นกับเขาในวันนั้นให้เป็นเรื่องของการที่ “คนมันจะโดนยิงน่ะ”

นวลน้อย ธรรมเสถียร
Crack Politics

นักวิทยาศาสตร์หญิงอินเดีย ผู้อยู่เบื้องหลัง ‘จันทรยาน-3’ ทะยานสู่ดวงจันทร์

Reading Time: 3 minutes องค์กรวิจัยอวกาศของอินเดีย หรือ India Space Research Organization, ISRO (อ่านว่า อิสโร) เป็นองค์กรที่อยู่เบื้องหลังความสำเร็จของจันทรยาน-3 นั้น ใช่ว่าจะมีเพียงนักวิทยาศาสตร์เพศชายเท่านั้น บทความนี้ใคร่กล่าวถึงนักวิทยาศาสตร์หญิงแห่งอิสโรเพียง 7 คน เพื่อยกเป็นตัวอย่าง

สุรัตน์ โหราชัยกุล
Crack Politics

‘สิ้นเสียงปืน’ ถอดรหัสความรุนแรงในสังคมไทย บนทางแพร่ง ‘สันติวิธี’ อันพร่าเลือน

Reading Time: 4 minutes ต้องมองแนวทางสันติวิธีให้เป็นมากกว่ากลยุทธ์ในการชุมนุม จะรีบเร่งหรือผ่อนแรงไม่ใช่ปัญหา หากแต่ต้องมองระยะยาว ต้องเป็นการต่อสู้ที่สั่งสมพลังจากการรวมกลุ่มที่กว้างขวางขึ้น อยู่บนยุทธศาสตร์ที่วางแผนว่าจะทำอะไรต่อไป เพื่อกระชากพรมออกจากเท้าผู้คนให้ได้

ธเนศ แสงทองศรีกมล
Crack Politics

หลังบ้านทะลุวัง แรงโกรธและการต่อสู้ของผู้หญิง

Reading Time: 3 minutes De/code พูดคุยกับตัวแทนของกลุ่มทะลุวัง บิวตี้ วิชญาพร ตุงคะเสน, บุ้ง เนติพร เสน่ห์สังคมและใบปอ–ณัฐนิช ดวงมุสิทธิ์ หลังจากเกิดเหตุการณ์ดังกล่าว ในวันที่พวกเขาบอกว่า ยังคงเดินอยู่บนหลักการเดิม เพียงแค่วิธีการเคลื่อนไหวไม่ถูกใจสังคมที่เป็นอนุรักษนิยมอย่างสังคมไทย

Decode
Crack Politics

2 ปีไม่พบผู้ก่อเหตุสังหาร ‘มานะ หงษ์ทอง’ แต่พบกล้องวงจรปิดในที่เกิดเหตุ 13 ตัว

Reading Time: 4 minutes ลงพื้นที่สอบสวนในทันทีเมื่อทราบข้อมูล และพบว่าพื้นที่ดังกล่าวที่มานะ หงษ์ทองถูกยิง มีกล้องวงจรปิดทั้งหมด 13 ตัว ในระยะโดยรอบไม่เกิน 20 ก้าวเดิน จุดที่มานะหงษ์ ทองถูกยิงเป็นบริเวณริมถนน ไม่มีมุมอับ มีแสงไฟชัดเจน ทั้งในช่วงเวลาดังกล่าวก็มีเพียงตำรวจ คฝ. ที่ควบคุมพื้นที่อย่างเบ็ดเสร็จ เป็นไปได้อย่างไรกัน? ที่ไม่สามารถหาหลักฐานหาตัวผู้ก่อเหตุได้ 

Decode
Crack Politics

ในนามของความจงรักภักดี ‘คนรักเจ้ามีอยู่จริง’ คนเกินเจ้าก็มีอยู่จริง?

Reading Time: 4 minutes เมื่อสถาบันถูกแช่แข็งและยกไว้บนหิ้ง มาตรา 112 ไม่ได้เป็นเพียงกฎหมายที่ถูกกล่าวว่านำไปใช้เพื่อปิดปากคนเห็นต่าง กลั่นแกล้งทางการเมือง กลับยังมีวาระซ่อนเร้นภายใต้เสื้อของความจงรักภักดี
ในวันที่คนรักเจ้าใช้เพื่อปกป้องสถาบัน แต่ยังมีคนเกินเจ้าสวมเสื้อของความจงรักภักดีใช้ ม.112 และสถาบันเป็นช่องทางหากิน

นทธร เกตุชู
Crack Politics

เก่า ใหม่ ซ้าย ขวา ในสนามการเมืองไทย

Reading Time: 3 minutes “ประจักษ์ ก้องกีรติ” การเมืองไทยในสายตาที่ยาวขึ้น ยืนระยะหลังเลือกตั้ง 2566 ใน 9 เทรนด์ใหญ่ที่อาจจะไม่เปลี่ยนแปลง ไล่เรียงตั้งแต่ผู้เล่นกระแสหลักในการเลือกตั้งครั้งหน้าคู่แข่ง (competitor) ไม่จำเป็นต้องเป็นศัตรู (enemy) ไปจนถึงประเด็นการเมืองแนวอุปถัมภ์ท้องถิ่นยังไม่ล้มหายตายจาก แต่ไปต่อลำบาก

รศ.ดร.ประจักษ์ ก้องกีรติ
Crack Politics

คำ(บังคับ)สารภาพของจำเลยใต้กฎอัยการศึก

Reading Time: 3 minutes ความผิดปกติของกระบวนการยุติธรรมภายใต้กฎอัยการศึก
“เขาใช้เท้าเตะก้านคอผม และบอกให้ผมรับสารภาพ” และ  “เขาบอกให้ผมรับสารภาพ ครอบครัวผมจะได้ปลอดภัย” นี่คือส่วนหนึ่งจากจดหมายคำให้การของจำเลยที่ถูกจับกุมและถูกควบคุมตัวจากคดีระเบิดป่วนกรุงเทพฯเมื่อปี2562 ซึ่งจำเลยได้ตัดสินใจเขียนเล่าให้ทนายว่าเขาถูกปฏิบัติอย่างไรขณะควบคุมตัว

ฟาห์เรนน์ นิยมเดชา
Crack Politics

ชำระประวัติศาสตร์และบาดแผล ‘คุชราต’ ในมือของ ‘นเรนทระ โมที’

Reading Time: 3 minutes เช้าวันที่ 27 กุมภาพันธ์ 2002 รถไฟขบวน Sabarmati Express จากเมือง Ayodhya มุ่งตรงไปสู่เมือง Ahmedabad ได้หยุดลงใกล้กับสถานีรถไฟเมือง Godhra ผู้โดยสารส่วนใหญ่บนขบวนรถไฟคือ ผู้แสวงบุญชาวฮินดู จากนั้นได้เกิดการโต้เถียงกันระหว่างผู้โดยสารบนรถไฟและพ่อค้าที่ขายของอยู่ในสถานีรถไฟ การโต้เถียงรุนแรงขึ้นจนกลายเป็นเหตุชุลมุน หลังจากนั้นได้เกิดเหตุเพลิงไหม้ใน 4 โบกี้ของขบวนรถไฟ โดยเหตุการณ์ไฟไหม้ดังกล่าวมีชาวฮินดูเสียชีวิต 59 คน เป็นชาย 9 คน ผู้หญิง 25 คน และเด็ก 25 คน

ณฐาภพ สังเกตุ