Welfare state Archives - Page 3 of 10 - Decode

CATEGORY Welfare state
Lorem ipsum dolor sit amet.

Welfare state

สูตรบำนาญใหม่ ชัยชนะที่ “CARE” ความเป็นธรรม บทพิสูจน์อุดมคติกับโลกจริงไปด้วยกันได้

Reading Time: 3 minutes การเปลี่ยนแปลงสูตรคำนวณเงินบำนาญผู้ประกันตนเป็นหนึ่งในนโยบายสำคัญที่ทีมประกันสังคมก้าวหน้าต้องการผลักดัน เพื่อแก้ไขปัญหาเชิงนโยบายของสำนักงานประกันสังคมที่ไม่สอดคล้องกับชีวิตการทำงานของผู้คน ที่ผ่านมา ผมได้รับข้อความจากผู้ประกันตนจำนวนมาก ล้วนแล้วมีแต่ความเจ็บปวด มันยิ่งกว่าโดนปล้น เป็นความเจ็บช้ำของผู้คนที่ผมได้สัมผัสมาด้วยตัวเอง

Welfare state

รัฐบาล(กระจก)เงาของคนไร้บ้าน

Reading Time: < 1 minute เมื่อมาถึงวิกฤตโควิด  ปัญหาที่รุนแรงอยู่แล้วก็ยิ่งทวีความรุนแรง  จำนวนคนไร้บ้านเพิ่มขึ้นหลายเท่าอย่างเห็นได้ชัดตามถนนหนทาง  จากคนจำนวนมากที่ต้องตกงาน  หลายคนที่มีปัญหาครอบครัวรุมเร้าอยู่ก็มาถึงจุดแตกหักเมื่อต้องมากักตัวร่วมกันในที่แคบๆ  หลายคนเข้ามาทำงานและอาศัยอยู่ในเมืองนานจนไม่เหลือความเชื่อมโยงใดๆ กับบ้านเกิด  และไม่มีที่ทางที่อื่นที่จะไปนอกจากหาทางอยู่รอดต่อในเมืองต่อแม้ไม่มีงานทำ   

วีรพร นิติประภา
Welfare state

ขบวนรถไฟแห่งชีวิต กม.11 บนเส้นทางของการพัฒนาที่ไม่ถูกนับ

Reading Time: 3 minutes หากคุณมีโอกาสเดินทางไปยังพื้นที่โดยรอบของสถานีกลางกรุงเทพอภิวัฒน์ นอกเหนือไปจากพื้นที่ ความงดงามสะดวกสบายของย่านการค้าและสถานที่ราชการแล้วนั้น ยังคงมีชุมชนที่หลบซ่อนอยู่ในพื้นที่และ เกี่ยวพันกับเส้นทางรถไฟอย่างไม่อาจแยกขาดจากกัน  

ณัฐณิชา มีนาภา
Welfare state

‘ไม่มีลูก’ ไม่ได้แย่เสมอไปในสังคมสูงวัย

Reading Time: < 1 minute ในแง่ปัจเจกชน “การไม่มีลูก” จึงไม่ใช่เรื่องคอขาดบาดตายมาหลายทศวรรษแล้วแต่ในแง่ของ “สังคม” มันเป็นเรื่องคอขาดบาดตายหรือไม่กับการที่คนเกิดน้อยและคนแก่มาก จนถึงขั้นต้องกระตุ้นให้คนมีลูกขึ้นมาทดแทน

รศ.ดร.ษัษฐรัมย์ ธรรมบุษดี
Welfare state

‘เดอะแบก’ ตลอดชีพ แม้เกษียณยังไม่เกษม

Reading Time: 3 minutes ประเทศไทยก้าวเข้าสู่สังคมสูงวัยอย่างเต็มขั้น ทว่าคุณภาพชีวิตของเขายังถูกฉุดรั้งไว้ด้วยนโยบายรัฐไทย ลุกลามไปจนเป็นบ่วงพันธนาการรั้งคนหนุ่มสาวเอาไว้ไม่ให้ไปไหน

ธเนศ แสงทองศรีกมล
Welfare state

ทลายช่องว่าง 1% เราจะใกล้กันมากขึ้นในสังคมรัฐสวัสดิการ

Reading Time: 2 minutes เพียงนาทีเดียวของเจ้าสัว ก็รวยเท่ากับคนทั่วไปทำงานทั้งชีวิต “การเก็บภาษีความมั่งคั่ง” จึงเป็นหนทางที่จะลดความเหลื่อมล้ำและสร้างรัฐสวัสดิการให้เกิดขึ้นจริง

ธเนศ แสงทองศรีกมล
Welfare state

คนที่ถูกลืม

Reading Time: < 1 minute ฝันร้ายของประชากรคนหนุ่มสาว ที่คนสร้างรายได้จ่ายภาษีมีจำนวนน้อยกว่าคนไม่สร้างรายได้และใช้ภาษี มิหนำซ้ำยังมีค่าใช้จ่ายสูงทั้งการดูแลและรักษาพยาบาลต่าง ๆ

วีรพร นิติประภา
Welfare state

สูตรจับขั้วรัฐบาลที่อาจส่งผลต่อนโยบายสวัสดิการที่หาเสียงไว้

Reading Time: 2 minutes อุดมการณ์ของพรรคการเมืองก็ยังเป็นตัวชี้ขาดลักษณะของนโยบายสวัสดิการที่แตกต่างกัน และความแตกต่างกันนี้ย่อมส่งผลให้เมื่อมีการจัดตั้งรัฐบาล ลำดับความสำคัญของนโยบายที่หาเสียงไว้ย่อมแตกต่างกันไปด้วย

รศ.ดร.ษัษฐรัมย์ ธรรมบุษดี
Welfare state

จีดีพีแค่มายา ข้าวปลาและค่าแรงสิของจริง

Reading Time: 3 minutes ไม่ใช่ทุกครั้งที่ข้อเรียกร้องของแรงงานจะเสียงดังและถูกช่วงชิงความหมายในทางการเมืองโดยเฉพาะในโค้งสุดท้ายของการหาเสียงเลือกตั้ง 2566 ซึ่งก่อนหน้านี้หลายพรรคเกทัพ ประกาศขึ้นขึ้นค่าแรงขั้นต่ำต้อง 600 บาทภายในปี  2570 บางพรรคก็ประกาศจะเพิ่มทันที 450 บาทต่อวัน ทำให้เมย์เดย์ปีนี้ต้องกลับมาทบทวนประเด็นค่าแรงขั้นต่ำ

วิชญ์ช​นนท์​ ปิติ​ชัย​ธ​นา​โชติ​
Welfare state

บัตรคนจนผลักสวัสดิการไทยให้ล้าหลัง

Reading Time: < 1 minute ชวนพิจารณาถึงฐานความคิด ที่สะท้อนความเป็นอนุรักษนิยมด้านสวัสดิการผ่านสองนโยบายคือนโยบายระบบสวัสดิการแบบคูปองและระบบสวัสดิการที่ผูกกับการพิสูจน์ความจน

รศ.ดร.ษัษฐรัมย์ ธรรมบุษดี
Welfare state

วัยเลขเจ็ดของ ‘ป้าสาย’ ไม่เคยสบายเลยสักครั้ง

Reading Time: 2 minutes หญิงสูงวัย ที่ตัวเลขบอกอายุขึ้นต้นด้วยเลขเจ็ด ผมสีผมเป็นสีขาวไม่มีสีอื่นแซม รูปร่างผอมมักสวมผ้าถุง ใส่เสื้อผ้าเนื้อเบามีระบายลูกไม้สมวัย นาน ๆ ที จะเห็นป้าสายใส่เสื้อยืดสกรีนชื่อชุมชนทำให้ป้าดูสดใสอ่อนกว่าวัยขึ้นเป็นสิบปี ด้วยวัยขนาดนี้เวลาไปไหนมาไหน ผมจึงเห็นป้าต้องเดินโขยกเขยกโดยมีไม้เท้าช่วยประคอง แต่ถึงกระนั้น ป้าก็ยังทำงานหาเลี้ยงตัวเองอยู่

รศ.ดร.บุญเลิศ วิเศษปรีชา
Welfare state

ราคาของความเหลื่อมล้ำที่คนธรรมดาต้องจ่าย โค้งสุดท้ายก่อนเลือกตั้งผู้ว่าฯ กทม. 5 นโยบายพื้นฐานสำหรับคน 99%

Reading Time: < 1 minute ผู้สมัครจะมีจุดยืนเพื่อคน 99% ทั้งมิติทาง การเมือง เศรษฐกิจและสังคมเป็นสิ่งจำเป็นเพื่อเป็นตัวแทนฝ่ายบริหารที่จะนำสู่จุดเริ่มของกระบวนการเปลี่ยนผ่านสู่ประชาธิปไตย

รศ.ดร.ษัษฐรัมย์ ธรรมบุษดี