Columnist Archives - Page 3 of 38 - Decode

TAG Columnist
Lorem ipsum dolor sit amet.

Gender & Sexuality

ถ้าคุณรู้จัก Martha Stewart

Reading Time: 3 minutes มาร์ธา สจ๊วร์ต น่าจะเป็นคนแรกที่ทำให้คำว่า ‘ไลฟ์สไตล์’ แทรกซึมเข้ามาเป็นกระแสหลักในชีวิตผู้คน และที่สำคัญที่สุดก็คือ เธอทำให้มันกลายเป็น ‘ธุรกิจ’ ขนาดใหญ่ขึ้นมาได้ ชวนอ่านปรากฏการณ์มาร์ธา สจ๊วร์ต อีกแง่มุมของการล้มแล้วลุกขึ้นใหม่อีกครั้ง

Columnist

Cyberpunk 2077 Edge runner สู่ดวงจันทร์อันไกลโพ้นยังใกล้กว่าการไปถึงรัฐสวัสดิการ

Reading Time: 2 minutes การถีบตัวเองขึ้นไปเพื่อไขว่คว้าหาคุณภาพชีวิตที่ดีขึ้นอาจไม่มีจริงในเมืองแห่งนี้
เพราะตัวเลขในบัญชีต่างหาก ที่จะกำหนดว่าเราจะได้มีชีวิตอยู่อย่างไรและต้องจากไปแบบไหน

นทธร เกตุชู
Columnist

หน้าที่ของชุมชนแออัดในสังคมเหลื่อมล้ำ

Reading Time: 3 minutes แทนที่จะมองว่าชุมชนแออัด เป็นพื้นที่อันน่ารังเกียจของเมือง ควรมองเสียใหม่ว่า หากไม่มีชุมชนแออัด คนมีรายได้น้อยต้องกลายเป็นคนไร้บ้านข้างถนน ชีวิตเมืองจะยิ่งไม่น่าดูชมกว่าที่เป็นอยู่ตอนนี้

รศ.ดร.บุญเลิศ วิเศษปรีชา
Columnist

ทบทวนคลื่นกระแสรัฐสวัสดิการ ปี 2565

Reading Time: < 1 minute ในปี 2565 การต่อสู้เรื่องรัฐสวัสดิการยังคงเกิดขึ้นอย่างต่อเนื่อง ความสำคัญที่ยังจำเป็นต้องย้ำเตือนคือแม้ว่าอาจยังไม่ได้สัมผัสถึงนโยบายที่เป็นรูปธรรม แต่การต่อสู้ได้ยกระดับและเพดานของการต่อสู้ให้การต่อสู้เพื่อการสร้างรัฐสวัสดิการในมิติต่าง ๆ กลายเป็นที่พูดถึงและยอมรับมากขึ้นในวงกว้าง หากทำการสรุปประเด็นขับเคลื่อนที่เกี่ยวพันกับเรื่องรัฐสวัสดิการที่ถูกพูดถึงในวงกว้างสามารถสรุปสามประเด็น ประเด็นแรกคือประเด็นบำนาญ ประเด็นที่สองคือ เรื่องล้างหนี้ กยศ. และเรียนมหาวิทยาลัยฟรี ส่วนประเด็นที่สามคือประเด็นการขยายวันลาคลอด 180 วัน บทความนี้จะทำการทบทวนว่าประเด็นทั้งสามถูกผลักดันไปในแนวทางใดบ้างในสังคม

รศ.ดร.ษัษฐรัมย์ ธรรมบุษดี
Columnist

มายาคติ ‘ความสำเร็จ’

Reading Time: 2 minutes เริ่มจากแค่ว่า ทุกคนมีโอกาสที่เท่าเทียมกันในการก้าวจากดินสู่ดาวจริงหรือไม่ ข้อเท็จจริงที่แซนเดลชี้ให้เห็น (ซึ่งนักการศึกษาจำนวนมากก็ชี้ให้เห็นมานานแล้ว) นั้นตรงกันข้าม ข้อมูลชี้ว่านักศึกษาที่เข้าเรียนในมหาวิทยาลัยชั้นนำในสหรัฐฯ นั้นส่วนใหญ่มาจากครอบครัวที่มีฐานะร่ำรวยกว่าค่าเฉลี่ยของสังคม และยิ่งนานวันเข้าสัดส่วนของเด็กจากครอบครัวที่ยากจนก็ฝ่าฟันเข้าเรียนมหาวิทยาลัยชั้นนำได้น้อยลงไปเรื่อย ๆ

รศ.ดร.ประจักษ์ ก้องกีรติ
Columnist

กระดาษเปล่า ผ้าคลุมผม หนีทหาร และการเมืองเชิงสัญลักษณ์

Reading Time: 2 minutes อย่างไรก็ตาม สำหรับคำถามที่ว่าการชุมนุมประท้วงของประชาชนในจีน อิหร่าน และรัสเซีย จะสามารถสั่นคลอนรัฐบาลหรือนำไปสู่การเปลี่ยนแปลงทางสังคมการเมืองหรือไม่ คำตอบคือ ยาก เพราะทั้ง 3 รัฐล้วนมีกลไกรัฐที่แข็งแกร่งและครองอำนาจมายาวนาน มียุทธศาสตร์และยุทธวิธีในการรับมือกับการชุมนุมประท้วงที่แยบยลหลากหลายวิธีการ ไม่ว่าจะเป็นการปราบปรามบนท้องถนน การใช้เครื่องมือทางกฎหมาย การปลุกกระแสชาตินิยม และการทำสงครามข้อมูลข่าวสาร เช่น การดิสเครดิตประชาชนที่เคลื่อนไหวว่ารับเงินต่างชาติมาสร้างสถานการณ์และมีเจตนาแอบแฝง การสร้างข่าวปลอม การหันเหความสนใจของประชาชนด้วยข่าวอื่น ดังที่รัฐบาลจีน รัสเซีย และอิหร่านทำอยู่ในปัจจุบัน

รศ.ดร.ประจักษ์ ก้องกีรติ
Columnist

เดินหน้าสู่ปีที่ 19 ของความขัดแย้ง

Reading Time: < 1 minute ความขัดแย้งที่เชื่อกันว่าสงบลงก่อนหน้า เป็นแต่เพียงการเข้าสู่จุดเปลี่ยนผ่าน ก่อนหน้าปี 2547 ความขัดแย้งในพื้นที่นี้ปรากฎตัวซ้ำซากมาเนิ่นนาน บางเวลาก็หยุดหายไป บางเวลาก็ปะทุขึ้นมาใหม่เสมือนเปลวไฟที่ได้เชื้ออย่างต่อเนื่อง ประเทศไทยต้องการแหวกวงล้อมจากวิธีคิดและแนวปฏิบัติเดิม ๆ เพราะชัดเจนว่าที่ทำมานั้นไม่ได้ผล

นวลน้อย ธรรมเสถียร
Columnist

สนพ.เล็ก แต่ ‘Passion ใหญ่’ บทสนทนานิยายยูริกับ lily house.

Reading Time: 2 minutes จริงๆ แล้วนิยายวายไม่ได้จำกัดอยู่แค่ในขอบเขตชายรักชายเท่านั้น แต่ยังรวมไปถึงนิยายประเภทหญิงรักหญิงหรือที่เรียกว่ายูริ (Yuri) ด้วยเช่นกัน

ธีทัต จันทราพิชิต
Columnist

ทำไมคนไทยส่วนหนึ่งถึงเห็นใจนายทุน เจ้าสัว เมื่อเกิดการเรียกร้องสิทธิแรงงาน

Reading Time: < 1 minute อำนาจและอิทธิพลของแต่ละกลุ่มมีไม่เท่ากัน แต่คำถามสำคัญคือเหตุใดเมื่อกลุ่มคนที่มีปริมาณเยอะที่สุดคือกลุ่มคนที่มีรายได้ 13,000 เริ่มมีปัญหากับคนที่มีรายได้ 300,000 กลุ่มคนที่มีรายได้ 30,000 ซึ่งนับว่าเป็นกลุ่มที่มีรายได้ใกล้เคียงกับคนที่มีรายได้ 13,000 เหตุใดจึงมีแนวโน้มที่จะเห็นใจคนที่มีรายได้ 300,000 มากกว่าการรวมตัวกันกับกลุ่มที่มีรายได้ 13,000 เพื่อเรียกร้องความเป็นธรรม

รศ.ดร.ษัษฐรัมย์ ธรรมบุษดี
Columnist

ใครบางคนหายไปในฤดูฝน

Reading Time: < 1 minute ใครบางคนหายไปในฤดูฝน แล้วไม่ได้ตามกันมาในฤดูหนาว เหมือนมีเสียงครวญหาจากอดีต แว่วผ่านตามกระแสสายลมหนาวมา ปีนี้เหมือนว่าฝนจะมากกว่าปีที่แล้ว เพราะย่างเข้าพฤศจิกายน ฝนก็ยังคงตกโปรยปรายลงมาไม่หยุดหย่อน ซ้ำยังคงมีพายุคลุกฟ้าคลุกเมฆฝนอยู่ตลอดเวลา 

ประพันธ์ สุนทรฐิติ (ดวงดาวเดียวดาย)
Columnist

อำนาจ ศิลปะ และการมองเห็น

Reading Time: 2 minutes หากว่าการเมืองถูกสร้างภาพจำมาว่าคือความวุ่นวาย และศิลปะคือความบริสุทธิ์ที่คอยจรรโลงใจ ศิลปะและการเมือง 2 สิ่งนี้ควรแยกออกจากกันหรือเปล่า?

‘การเมืองทัศนา’ หนังสือที่เขียนโดย ผศ.ดร.บัณฑิต จันทร์โรจนกิจ อาจารย์ประจำภาควิชาการปกครอง และดำรงตำแหน่งรองคณะบดีคณะรัฐศาสตร์ จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย ที่จะพาเราย้อนกลับไป สำรวจอำนาจศิลปะที่ถูกใช้คู่ขนานไปกับการเมือง

จิรัฏฐ์ วรรัตนวงศ์
Columnist

ตุ๊กตาของ ‘ลูก’

Reading Time: < 1 minute สำหรับเด็ก ๆ ตุ๊กตาเป็นเหมือนสิ่งมีชีวิต เป็นเพื่อน เป็นความสัมพันธ์ เป็นที่ปรึกษาปัญหา ระบายความในใจ  เป็นหลุมหลบภัย เป็นคนที่เขามีข้างกายให้อบอุ่นใจเมื่อพ่อแม่ไม่ว่าง แม้จะเป็นช่วงเวลาสั้น ๆ

วีรพร นิติประภา