Columnist Archives - Page 13 of 38 - Decode

TAG Columnist
Lorem ipsum dolor sit amet.

Columnist

ตาดวงใหม่ของมนุษยชาติ

Reading Time: < 1 minuteSpace for Thai นิศาชล คำลือ ว่ากันว่าความงามไม่อาจมองเห็นได้ด้วยตาเปล่าเสมอไป เนื่องด้วยข้อจำกัดทางธรรมชาติที่อนุญาตให้มนุษย์มองเห็นวัตถุได้เพียงช่วงคลื่นที่ตามองเห็นเท่านั้น เมื่อดวงตาไม่อาจมองเห็น มนุษย์จึงจำเป็นจะต้องใช้สติปัญญาแทนดวงตาเพื่อมองให้เห็นถึงความงามที่ไม่อาจมองเห็นได้ด้วยตาเปล่า ในปี ค.ศ. 1990 กล้องโทรทรรศน์อวกาศฮับเบิลได้ถูกส่งขึ้นไปโคจรรอบโลกที่ความสูงประมาณ 570 กิโลเมตร มันสามารถมองเห็นวัตถุได้ทั้งในช่วงคลื่นที่ตามองเห็น ช่วงคลื่นแสงอินฟราเรด และช่วงคลื่นอัลตราไวโอเลต ฮับเบิลประสบความสำเร็จอย่างมากในการเป็นกล้องโทรทรรศน์อวกาศ ด้วยดวงตาของมันทำให้นักดาราศาสตร์สามารถศึกษาวัตถุและปรากฏการณ์ใหม่ ๆ ในอวกาศได้มากมาย สร้างผลกระทบเชิงบวกเป็นวงกว้างให้กับวงการดาราศาสตร์และวิทยาศาสตร์ และข้อมูลจากฮับเบิลยังถูกนำมาอ้างอิงในงานวิจัยของนักวิจัยอยู่เสมอ ๆ จนถึงนักวิจัยรุ่นปัจจุบัน จะเรียกว่าเป็นดวงตาของมนุษยชาติเลยก็ว่าได้ แต่คุณผู้อ่านสังเกตเห็นอะไรในความสมบูรณ์แบบนี้ไหม? หากนับตั้งแต่ปีที่ฮับเบิลถูกส่งขึ้นไปปฏิบัติหน้าที่จนถึงวันนี้ ณ ที่เขียน พบว่ากล้องโทรทรรศน์อวกาศฮับเบิลมีอายุการทำงานมากว่า 32 ปีแล้ว แม้มันจะเป็นกล้องโทรทรรศน์อวกาศที่ถูกออกแบบมาให้สามารถส่งนักบินอวกาศไปทำการซ่อมแซมเมื่อชำรุดได้ แต่เราได้ส่งนักบินอวกาศออกไปซ่อมแซมมันอยู่เสมอมากถึง 5 ครั้งแล้ว และการส่งมนุษย์ออกไปทำงานกลางอวกาศแบบนั้น นับเป็นเรื่องที่มีความเสี่ยงสูง ยิ่งเราดึงดันจะซ่อมมันอยู่เรื่อย ๆ จะยิ่งเป็นการเพิ่มความเสี่ยงให้กับนักบินอวกาศ หน่วยงานอวกาศอย่างนาซ่า องค์การอวกาศยุโรป และอีกหนึ่งพันธมิตรอย่างองค์การอวกาศแคนาดาจึงได้พยายามที่จะสร้างกล้องโทรทรรศน์อวกาศรุ่นใหม่ขึ้นมาเพื่อทดแทนการทำงานของกล้องโทรทรรศน์อวกาศฮับเบิล ทั้งนี้พวกเขายังตั้งเป้าให้กล้องโทรทรรศน์อวกาศรุ่นใหม่ที่ว่าสามารถล้วงลึกจักรวาลไปได้ไกลถึงจุดกำเนิดของทุกสิ่งทุกอย่างเพื่อไขปริศนาในการมีอยู่ของเอกภพ และนั่นก็คือจุดกำเนิดของ “กล้องโทรทรรศน์อวกาศเจมส์ เวบบ์” กล้องโทรทรรศน์อวกาศชนิดสะท้อนแสงทายาทรุ่นน้องที่อ้างอิงการสร้างมาจากกล้องโทรทรรศน์อวกาศฮับเบิล เป็นเวลาเกือบสามทศวรรษในการวางแผนพัฒนาและปรับปรุง จนในที่สุด เจมส์ เวบบ์ […]

นิศาชล คำลือ
Columnist

การรวมตัวของแรงงานรุ่นใหม่ : นับหนึ่งการต่อสู้ก้าวแรกที่ไม่เคยยากเกินไป

Reading Time: < 1 minuteแรงงานสร้างสรรค์นับล้านคนสามารถรวมตัวกันเพื่อปกป้องผลประโยชน์ของกันและกันได้ พวกเขาก็จะไม่ต้องพึ่งพาระบบอุปถัมภ์ ไม่ต้องอิงแอบกับค่านิยมอนุรักษ์นิยม

รศ.ดร.ษัษฐรัมย์ ธรรมบุษดี
Columnist

Yes to Life ตอบรับชีวิตแม้ในสงคราม

Reading Time: 2 minutesYes to Life อนุญาตให้เราสร้างความหมายและมีความหวังจากส่วนเสี้ยวในส่วนใหญ่ที่แม้จะถูกลิดรอนไปจนหมดสิ้นเหลือเพียงกายหยาบที่เปลือยเปล่าก็ตามที

ภัทราภรณ์ ศรีทองแท้
Columnist

สื่อสารในยามสงคราม

Reading Time: 2 minutesน่าเสียดายที่ในโลกของการสื่อสารที่มีเทคโนโลยีก้าวหน้าอย่างมากในปัจจุบัน เรากลับไม่ได้เห็นสื่ออย่างในรัสเซียมีบทบาทในการตอบคำถามเหล่านี้ให้กับผู้คนในสังคมโลก ตรงกันข้าม เรากลับได้เห็นการที่กลุ่มประเทศสหภาพยุโรปสั่งบล็อกสื่อรัสเซียซึ่งในโลกของการสื่อสารปัจจุบันนับเป็นเรื่องที่ผู้เขียนเห็นว่าแปลก

นวลน้อย ธรรมเสถียร
Columnist

สงครามและสันติภาพ: ประวัติศาสตร์การต่อต้านสงครามในสังคมไทย

Reading Time: 2 minutesทั่วโลกกำลังส่งเสียงเรียกร้องให้ผู้นำรัสเซียยุติสงครามและถอนกำลังออกจากยูเครนทันที เพื่อเปิดทางให้สันติภาพทำให้ผู้เขียนอยากจะชวนทุกคนย้อนกลับไปดูว่าในอดีตที่ผ่านมาสังคมไทยก็มีประวัติศาสตร์ที่น่าชื่นชมของการแสดงออกทางมนุษยธรรมร่วมกับคนทั่วโลกคัดค้านสงครามและเรียกร้องสันติภาพ

รศ.ดร.ประจักษ์ ก้องกีรติ
Columnist

‘จากครรภ์มารดาถึงเชิงตะกอน’ ความหวัง ความฝัน ของ ‘ป๋วย อึ๊งภากรณ์’

Reading Time: 2 minutesเพียงแค่อ่านข้อเขียนเพียงบางช่วงคุณจะเห็นภาพสังคมในอุดมคติ สังคมที่สิทธิขั้นพื้นฐานของการเกิดมาเป็นมนุษย์ที่สมควรจะได้ เป็นโลกที่เราจะมีโอกาสได้เห็นชีวิตชายชราคนนั้นได้รับสวัสดิการจากสังคมและรัฐอย่างเป็นธรรมทั้งในฐานะพลเมืองของรัฐ หรือในฐานะคนธรรมดา

พลอยธิดา เกตุแก้ว
Columnist

BEING YOUNG IN THE RED ZONE

Reading Time: 2 minutesBEING YOUNG IN THE RED ZONE เป็นหนังสือที่ทำหน้าที่ถ่ายทอดเสียง ของผู้ที่ซึ่งไร้สิทธิ์ไร้เสียง ในเยาวชนสามจังหวัดชายแดนใต้

ฟาห์เรนน์ นิยมเดชา
Columnist

จากชิลีถึงบูร์กินาฟาโซ: เงามืดของอดีตแสงสว่างของอนาคต

Reading Time: < 1 minuteทวีปแอฟริกาเป็นภูมิภาคที่เกิดการรัฐประหารบ่อยครั้งที่สุดในระยะหลัง แต่ก็มิใช่ภูมิภาคเดียวที่เผชิญปัญหานี้ ตัดภาพมาที่เอเชีย เดือนกุมภาพันธ์ 2564 เกิดการรัฐประหารที่พม่า

รศ.ดร.ประจักษ์ ก้องกีรติ
Columnist

สร้างระบบประกันสังคมถ้วนหน้าดีกว่าการพิสูจน์ความจน ก่อนที่ความเหลื่อมล้ำจะพังทุกอย่าง

Reading Time: 2 minutesการเดินหน้าสู่ระบบประกันสังคมถ้วนหน้า จะเป็นทางออกสำคัญสำหรับการเดินหน้าสู่รัฐสวัสดิการถ้วนหน้า เป็นทางเลือกสำคัญก่อนความเหลื่อมล้ำจะพังทุกอย่างในสังคมไทยผ่านการเพิ่มทุนทางสังคม และหลังพิงสำหรับคนวัยทำงาน

รศ.ดร.ษัษฐรัมย์ ธรรมบุษดี