News Archives - Page 5 of 19 - Decode

CATEGORY News
Lorem ipsum dolor sit amet.

News

เมืองพิการน้อยลงบ้างไหม ในเมื่อความเท่าเทียมเดินทางไกล

Reading Time: 3 minutes จะขจัดความเหลื่อมล้ำให้ราบคาบในสมัยเดียวนั้น หรือเพียงแต่ชั่วอึดใจ หรือข้ามคืน เพราะมันดูจะโรแมนติกไปเสียหน่อย วันนี้จึงคุยกันถึง “ความจริงตรงหน้า” ว่าอะไร กทม.ทำได้บ้าง เพื่อ Level up คุณภาพชีวิตคนพิการ

กัลยาวีร์ แววคล้ายหงษ์
News

นโยบายแรงงานแพลตฟอร์ม พรรคไหนที่เขาจริงใจกับเรา

Reading Time: 3 minutes ไม่น่าเกิน 5 เดือนข้างหน้าจะถึงวันเลือกตั้งที่เรารอคอย
นโยบายของพรรคการเมืองที่มีแนวคิดในการสร้างความเป็นธรรมให้แรงงานแพลตฟอร์ม สำรวจจุดยืนและมุมมองของพรรคต่อสิทธิและสวัสดิการของแรงงานในสถานการณ์ปัจจุบัน รวมทั้งการเสนอนโยบายที่เป็นรูปธรรมในการแก้ปัญหา เป็นการรวบรวมแนวคิดจากพรรคการเมืองทั้งขนาดใหญ่และขนาดเล็กที่มีนโยบายในเรื่องนี้อย่างชัดเจน

อโนมา สอนบาลี
News

พินัยกรรมความจน สถานะ ‘เด็กหลุด’ ที่ถูกส่งต่อ

Reading Time: 3 minutes ขณะที่เด็กกลุ่มหนึ่งเดินเข้าโรงเรียน มีเด็กอีกกลุ่มที่ต้องเดินออกมาอย่างเลี่ยงไม่ได้ เหตุผลสำคัญของภาวะดังกล่าวคือ ‘ความจน’ ที่สืบทอดต่อกันมารุ่นสู่รุ่น

ธเนศ แสงทองศรีกมล
News

วิ่งยา-ค้าบริการ-ทัวร์สถานพินิจ สิ้นสุดทางเลื่อนของ ‘เด็กหลุด’

Reading Time: 4 minutes ปัญหาพื้นที่ที่บีบรัดให้พวกเขาไม่ได้มีครอบครัวและโรงเรียนเป็นที่ปลอดภัย มาจนถึงมาตรการนโยบายภาครัฐที่ยังไม่มีวี่แววของการรองรับพวกเขา
จากชานชาลาบ้านเกิดมาถึงหัวลำโพง นี่คือการเดินทางมาสุดขอบของเด็กที่ระบบตกสำรวจหลายคนได้มาถึง และยังไม่มีกริ่งดังให้พวกเขากลับเข้าห้องเรียนสักที

นทธร เกตุชู
News

เสรีภาพสื่อ เสรีภาพเสื่อม?

Reading Time: 2 minutes ลองอ่านระหว่างบรรทัดดูดี ๆว่าสื่อแบบไหนที่เขาต้องการควบคุม แน่นอนว่าคือสื่อฝั่งที่ไม่เห็นด้วยกับการรัฐประหาร นี่ไม่ใช่แค่สื่อเลือกข้าง แต่ผู้มีอำนาจเลือกข้างให้สื่ออย่างชัดเจน แม้แต่คำกล่าวอ้างอย่าง สื่อทำหน้าที่ ‘ชี้นำสังคม’ ทุกวันนี้สื่อหลักยังสามารถชี้นำสังคมได้จริง ๆรึเปล่า สื่อหลักเองยังต้องไล่ทำข่าวที่มาจากสื่ออนไลน์อยู่เลย

พริม มณีโชติ
News

‘กุเดทามะ’ ตั้งไข่กับโลกหมุนไว ความหมายในการถูกปรุง

Reading Time: 3 minutes กุเดทามะคือตัวแทนของคนรุ่นใหม่ ที่หมายถึงภาวะหมดสิ้นไฟแห่งฝัน จากการเรียน การสอบ การทำงาน ไปจนถึงการหายใจทุกขณะ และในบริบทเดียวกันคือการตั้งคำถามต่อการหมุนของโลกที่ไวขึ้น ว่าเราย่อส่วนทุกช่วงเวลาในชีวิตไปเพื่ออะไรกัน

นทธร เกตุชู
News

อ่านประวัติศาสตร์และการเมืองไทยผ่านหนังสือ 10 เล่ม

Reading Time: 2 minutes เป็นปีที่มีความคึกคักอีกปีหนึ่งของแวดวงหนังสือแนวการเมืองและประวัติศาสตร์ มีหนังสือดี ๆ น่าตื่นเต้น เข้มข้น และเปิดหูเปิดตาให้เรามองการเมืองไทยในมุมมองใหม่อย่างกระจ่างแจ้งขึ้นมากมายหลายเล่มด้วยกัน แต่ผู้เขียนขอคัดมานำเสนอ 10 เล่มเด่น

รศ.ดร.ประจักษ์ ก้องกีรติ
News

ด้วยรักและความตายของไรเดอร์สูงวัย ในวันที่ไม่มี ‘อำนาจ’

Reading Time: 3 minutes เรื่องราวของ อำนาจ จิรปิยธรรม ชายวัย 58 ปี ไรเดอร์ของ Grab บริษัทแพลตฟอร์มรับ-ส่งอาหาร เขาทำงานอย่างทุ่มเทมาตลอด 3 ปี และอาจทำต่อไปจนถึงวัย 60 หรือมากกว่านั้น เหมือนคนสูงวัยส่วนใหญ่ที่ขาดหลักประกันด้านรายได้ในประเทศนี้ หากเขาไม่เสียชีวิตลงเสียก่อนในเดือนตุลาคม 2565 เพราะเส้นเลือดในสมองแตกระหว่างทำงาน

อโนมา สอนบาลี
News

‘BCG Talk’ เมื่อ P(eople) เป็นคำตอบสุดท้ายของประเทศไทยสายกรีน

Reading Time: 4 minutes แน่นอนว่าประเทศไทยมีการพูดถึงและหยิบยกแนวคิดสีเขียวเหล่านี้มาเช่นกัน โดยเฉพาะนโยบาย BCG ตั้งแต่เวที COP 26-27 และถูกยกให้เป็นวาระสำคัญในการประชุมนานาชาติ APEC 2022 ที่ผ่านมา
ทว่า BCG ที่ว่าจะเป็นไปได้จริงหรือ เมื่อประเทศไทยยังไม่อาจใส่ตัว P(eople) ไว้ในสมการ รวมถึงกรีนที่ว่า แล้วกรีนเฉดไหน ใช่กรีนที่ประชาชนสามารถเข้ามามีส่วนรวมในการกำหนดทิศทางทรัพยากรในพื้นที่ของพวกเขาหรือเปล่า

นทธร เกตุชู
News

เพราะเป็นแรงงานข้ามชาติ เราล้วนเปราะบางอย่างไร้พรมแดน

Reading Time: 4 minutes ฟังเสียงของแรงงานข้ามชาติ ทั้งประเทศเพื่อนบ้านที่มาข้ามพรมแดนเข้ามาในประเทศไทย คนไทยที่ไปแสวงหารายได้จากช่วงว่างฤดูเก็บเกี่ยว และคนไทยที่เป็นแรงงานนอกระบบ จากกิจกรรม “คนทำงานข้ามชาติ: เราทุกคนล้วนเปราะบางอย่างไร้พรมแดน”
เพราะความเปราะบางที่ว่า ได้เกิดขึ้นไปแล้วกับพวกเราทุกคน

นทธร เกตุชู
News

Care Income: งานดูแลทุกข์สุขคนในบ้านต้องมีค่าตอบแทน และถูกคิดเป็นมูลค่าทางเศรษฐกิจ

Reading Time: 2 minutes วงเสวนา “การเริ่มต้นบทสนทนาเรื่อง CARE INCOME คุณค่าและค่าตอบแทนงานของแม่และคนทำงานดูแล” ซึ่งมีการพูดถึงและอยากให้สังคมมีการผลักดันให้ “คนทำงานดูแล” มีค่าตอบแทน มีรัฐสวัสดิการ เพราะนี่ก็ถือ “เป็นการงาน” เช่นกัน ซึ่งที่ผ่านมาในปีประเทศไทยเคยลงนามในปฏิญญาและแผนปฏิบัติเพื่อความก้าวหน้าของสตรีเมื่อปี 2538 ซึ่งระบุว่า ต้องคิดมูลค่าเศรษฐกิจของงานดูแลบ้านที่ผู้หญิงทำด้วย แต่จนถึงทุกวันนี้ ยังไม่มีอะไรเปลี่ยนแปลง

กัลยาวีร์ แววคล้ายหงษ์