News Archives - Decode

CATEGORY News
Lorem ipsum dolor sit amet.

News

เดซิเบลของการแจ้งเตือน วิกฤติหลังไซเรนเที่ยงคืน เสียงเตือนว่าเรา ‘ไม่วางแผนรับมือ’ แบบวันนี้ไม่ได้แล้ว

Reading Time: 4 minutes ถ้าการเตรียมแผนรับมือภัยพิบัติเป็นเหมือนกับบทละครหรือ ‘ซีเนริโอ’  ประชาชนที่เป็นผู้เล่น ควรมีโอกาสได้ออกแบบ และเข้าไปมีบทบาทในเตรียมแผนรับมือภัยพิบัติให้เสร็จสมบูรณ์ เมื่อเกิดภัยแล้ว จะไม่นำไปสู่การตั้งคำถามของประชาชนว่าควรทำอย่างไรต่อ หรือรู้ภัยที่กำลังมา แต่ไม่มีแผนรองรับในช่วงเวลาการเกิดภัย

ณัฐณิชา มีนาภา
News

อาสาสมัครฟื้นเชียงราย ถมเท่าไหร่ก็ไม่เต็ม

Reading Time: 3 minutes ถาม-ตอบ คำถามต่อคำถาม กับพี่หนูหริ่ง-สมบัติ บุญงามอนงค์ มูลนิธิกระจกเงา ด่านหน้าของการระดมความช่วยเหลือเพื่อกู้คืนเชียงรายประเมินสถานการณ์กับ De/codeว่า ถ้าปล่อยให้การฟื้นฟูล้างบ้านเกิดขึ้นแบบไร้ระบบจัดการเชื่อมโยงที่มีประสิทธิภาพ กว่าเชียงรายจะฟื้นกลับมาได้อีกครั้งจะต้องใช้เวลาไม่ต่ำกว่า 3 เดือน หรืออาจเป็น 6 เดือนก็ได้

ฟาห์เรนน์ นิยมเดชา
News

รับมือโลกรวนให้ทันกับความปรวนแปร ‘ถี่ขึ้น พยากรณ์ได้ยากขึ้น’

Reading Time: 2 minutes “ถี่ขึ้น พยากรณ์ได้ยากขึ้น แต่มีความเป็นไปได้ที่จะไม่รุนแรง” คำอธิบายปรากฏการณ์เอลนีโญ ที่ส่งผลให้เกิดปริมาณฝนที่เพิ่มมากขึ้นของประเทศไทย De/code ชวนถอดประเด็นจากเสวนา เวทีเสวนาเชิงนโยบาย Dialogue Forum 1 l Year 5: โลกรวนในโลกร้อน: ไต้ฝุ่นยางิ Monsoons และความท้าทายด้านภูมิอากาศในภูมิภาค

ณัฐณิชา มีนาภา
News

สงครามเย็น 2.0 ใต้เงามหาอำนาจโลก

Reading Time: 2 minutes ระเบียบโลกที่วันนี้อยู่ในภายใต้อิทธิพลของจีนและรัสเซีย พยายามเข้ามาแทนที่บทบาทของสหรัฐอเมริกาในดินแดนตะวันออกกลางผ่านนโยบายระหว่างประเทศด้านเศรษฐกิจแบบเสรีนิยม การลงทุนทางด้านการค้า

ณัฐณิชา มีนาภา
News

จาก ‘วันหนึ่ง’ จนวันนี้ ทศวรรษของการช่วงชิงผืนป่าลำปาง

Reading Time: 6 minutes กว่าหนึ่งทศวรรษของนโยบายทวงคืนผืนป่า ทวงคืน 40% แห่งความสมบูรณ์ แลกมาซึ่งการสูญสิ้นซึ่งชีวิตชีวาของป่าไม้ และการอยู่ร่วมระหว่างคนกับป่าที่เป็นเพียง’วาทกรรม’

ธเนศ แสงทองศรีกมล
News

เมื่อประชาชนคือด่านหน้าของความ(ไม่)มั่นคงทางน้ำและอาหารในภูมิภาคเอเชีย

Reading Time: 4 minutes ประชาชนรากหญ้าคือกลุ่มเปราะบางที่ได้รับผลกระทบหนักที่สุด เนื่องจากภัยพิบัติมักจะเกิดขึ้นในพื้นที่ของพวกเขา ในขณะเดียวกันรัฐกลับไม่มีมาตรการใด ๆ ในการรับมือกับภูมิอากาศที่ย่ำแย่มากขึ้นทุกวัน

นทธร เกตุชู
News

ถนนสาย ‘สหพันธรัฐเมียนมา’ ไม่โรยด้วยกลีบกุหลาบ

Reading Time: 3 minutes ประวัติศาสตร์ความเจ็บปวดจากการโดนกดขี่ของชนกลุ่มน้อยเป็นเหตุผลให้รูปแบบการปกครองแบบสหพันธรัฐถูกหยิบยกมาเป็นหนึ่งในทางออกให้กับเมียนมาที่เผชิญปัญหากับรัฐเผด็จการมาอย่างยาวนาน 

กุลธิดา กระจ่างกุล
News

เปลี่ยน ‘วิกฤต’ แรงงานเมียนมา เป็น ‘โอกาส’ ฟื้นศก.ไทย เผือกร้อนในมือ ‘รัฐบาลอุ๊งอิ๊ง’

Reading Time: 3 minutes เรื่องใหญ่ของประเทศเพื่อนบ้านอย่าง “เมียนมา” ที่หลายเรามักเห็นตามหน้าสื่อคือ สภาพบ้านเมืองของเมียนมาในยุคเผด็จการทหาร “มิน อ่อง หล่าย” ที่พ่วงมากับสถานการณ์สงครามระหว่างฝ่ายรัฐบาลเผด็จการทหารกับกลุ่มชาติพันธุ์ต่างๆ ดังกรณีของการนำเสนอข่าวสงครามที่เมืองเมียวดีซึ่งปะทุขึ้นในช่วงเมษาหน้าร้อนที่ผ่านมา

ปิยวัฒน์ สีแตงสุก
News

บทใหม่หลังวิวาห์หลากสี ข้าม(ไม่)พ้นการเมืองเรื่องเพศ

Reading Time: 4 minutes ธงสีรุ้งโบกสะพัด วิวาห์รักโอบล้อมไปด้วยความยินดี การเดินทางของความรักเดินทางมาถึงบนหน้ากฎหมาย แต่หลังการมีกฎหมายสมรสเท่าเทียม เรามีอะไรต้องทำอีกบ้าง?

ธเนศ แสงทองศรีกมล
News

สืบจากแฟ้มตลาดวรรณกรรมสืบสวน ทำไมถึงเป็นขาขึ้น! ‘จริง ๆ คนไทยเป็นนักสืบในตัว’ ในมุมมอง ‘พิมพ์ชนก ศิริวรรณนาวี’

Reading Time: 2 minutes คนไทยเป็นนักสืบในตัว หนึ่งในเหตุผลที่ดิว – พิมพ์ชนก ศิริวรรณนาวี บรรณาธิการบริหาร กลุ่ม Literature มองว่ามีส่วนที่ทำให้ตลาดวรรณกรรมสืบสวน สยองขวัญเติบโตอย่างรวดเร็ว เธอสำทับด้วยคำว่า “ตลาดฟู”

Decode
News

รื้อมายาคติไร่หมุนเวียน วิทยาศาสตร์ชุมชนของคนชาติพันธุ์

Reading Time: 4 minutes มายาคติในไร่หมุนเวียน นโยบายป่าไม้ของรัฐที่พาคนชาติพันธุ์ออกจากป่า เงื่อนไขทางสิทธิอยู่อาศัยและทำกินผูกปมแน่น และเป็นสามทศวรรษที่คนใช้ป่ายังต้องพิสูจน์ว่าฝุ่นควันไม่ได้เกิดจากพวกเข

ธเนศ แสงทองศรีกมล
News

ชาติพันธุ์ในโลกทุนนิยม การเผชิญหน้ากับนโยบายป่าที่ไร้คน

Reading Time: 3 minutes เราต้องดูแลป่า เพราะเรามีทุกอย่างในนั้น ป่าสำหรับคนในชุมชนเปรียบเสมือน เซเว่น บิ๊กซี โลตัสของคนเมือง อยากจะกินอะไรอยากจะเอาอะไรก็มี เราเลยต้องดูแล ถ้าไม่ดูแลเราเองก็อยู่ไม่ได้

กุลธิดา กระจ่างกุล