Human Rights Archives - Page 2 of 7 - Decode

CATEGORY Human Rights
Lorem ipsum dolor sit amet.

Human Rights

คำ(บังคับ)สารภาพของจำเลยใต้กฎอัยการศึก

Reading Time: 3 minutes ความผิดปกติของกระบวนการยุติธรรมภายใต้กฎอัยการศึก
“เขาใช้เท้าเตะก้านคอผม และบอกให้ผมรับสารภาพ” และ  “เขาบอกให้ผมรับสารภาพ ครอบครัวผมจะได้ปลอดภัย” นี่คือส่วนหนึ่งจากจดหมายคำให้การของจำเลยที่ถูกจับกุมและถูกควบคุมตัวจากคดีระเบิดป่วนกรุงเทพฯเมื่อปี2562 ซึ่งจำเลยได้ตัดสินใจเขียนเล่าให้ทนายว่าเขาถูกปฏิบัติอย่างไรขณะควบคุมตัว

ฟาห์เรนน์ นิยมเดชา
Human Rights

จับขั้วหญิงไทยในสมรภูมิการเมือง

Reading Time: 2 minutes แทบทุกเขตในประเทศไทยจะมี ผู้หญิง เข้าไปแย่งชิงพื้นที่ทางการเมืองในสภาด้วย
และมีส.ส. หญิงหลายท่านถูกเลือกให้ทำหน้าที่เป็นปากเสียงของประชาชน โดยเฉพาะฝ่ายรัฐบาลใหม่ ที่ ส.ส.หญิงหลายท่านล้วนผ่านการลงถนนและการต่อสู้ทางความคิดมาแล้วอย่างดุเดือด จนเป็นเหตุให้สังเกตว่าพื้นที่ของสตรี
ในสภาและแนวคิดด้านสตรีนิยมจะขยับเขยื้อนไปในทิศทางใด

ธเนศ แสงทองศรีกมล
Human Rights

ไม่มีสนามเด็กเล่นในชายหาด มีแต่พาร์ทไทม์และฟูลไทม์ในสนามแรงงานเด็กบังคลาเทศ

Reading Time: 6 minutes การทำงานช่วยเหลือครอบครัวไม่ใช่เรื่องแย่เสมอไป แต่อะไรคือเส้นแบ่งว่า นี่คือรูปแบบการเป็นแรงงานเด็ก (Forced Child Labor) ที่ทำให้เด็กต้องเผชิญความเสี่ยงต่อชีวิต/จิตใจ และการเติบโต

กัลยาวีร์ แววคล้ายหงษ์
Human Rights

ผู้อพยพหน้าใหม่ในพรมแดนสีเทา

Reading Time: 3 minutes แรงงานอพยพ กับ ผู้ลี้ภัยสงคราม กลุ่มคนที่แตกต่างกันด้วยฤทธิ์กฎหมาย หากแต่เมื่อคลี่ดูดี ๆ แล้ว พวกเขาคือ ผู้อพยพข้ามชาติที่แสวงหา “แหล่งพักพิง”

ธเนศ แสงทองศรีกมล
Human Rights

เด็กลี้ภัยในข้อสงวนของรัฐ 2,000 กม.ที่ยังห่างไกลจากโอกาสและชีวิตที่ดีกว่า

Reading Time: 3 minutes ชวน พุทธนี กางกั้น – ผู้อำนวยการ The Fort พื้นที่เพื่อการเปลี่ยนแปลงในภาคตะวันออกเฉียงใต้ ภายใต้องค์กรเพื่อสิทธิมนุษยชน Fortify Right ผู้คลุกคลีกับประเด็นเรื่องสิทธิมนุษยชนเด็กมากว่า 10 ปี มานั่งพูดคุยถึงปรากฎการณ์ไทยยืนหนึ่งในเรื่องที่ไม่ควรยืน สถานะของเด็กลี้ภัยในประเทศไทย ท่าทีของรัฐไทยต่อสังคมโลก รวมถึงสายตาที่รัฐและภาคประชาชนควรจะใช้มองผู้ลี้ภัย

ธเนศ แสงทองศรีกมล
Human Rights

สิทธิเหนือเรือนร่างและชีวิต

Reading Time: < 1 minute กรณีคุกคามล่วงละเมิดทางเพศของ ’รองหัวหน้าพรรค’ ที่กำลังเป็นข่าวดัง มีคนจำนวนมากพูดถึงเรื่องนี้เชื่อมโยงกับการไม่สามารถหักห้ามความต้องการทางเพศ  และความล้มเหลวในควบคุมตัวเอง ซึ่งทำให้มองข้ามและไม่เห็นมิติอื่น ๆ เกี่ยวกับการข่มขืนและเหยื่อไปด้วย  

วีรพร นิติประภา
Human Rights

เล่าเรื่องเรา-รับฟังเรื่องเขา: Human Library ห้องสมุดมีชีวิตที่อาจเป็นพื้นที่เยียวยาหัวใจกันและกัน

Reading Time: 3 minutes “ผ่านเรื่องนั้นมาได้อย่างไร?” “แม้ว่าทุกชีวิตจะผ่านความยากมาเหมือนๆ กัน แต่เราก็ยังอยากเรียนรู้ว่า เขาผ่านจุดนั้นมาได้อย่างไร นี่คือการเห็นความเชื่อมโยงของความเป็นมนุษย์ซึ่งกันและกันนะ” มันเป็นคำถามที่นักอ่านถามคนตรงหน้าในฐานะ “หนังสือมีชีวิต” ระหว่างกิจกรรม Human Library หรือห้องสมุดมนุษย์ ของโครงการธนาคารจิตอาสา และ สำนักงานกองทุนสนับสนุนการสร้างเสริมสุขภาวะ (สสส.) 

กัลยาวีร์ แววคล้ายหงษ์
Human Rights

การหายไปของ ‘หะยีสุหลง’ การผูกขาดพื้นที่ความทรงจำ

Reading Time: 2 minutes เรื่องราวของหะยีสุหลงไม่ได้เป็นแต่เพียงเรื่องของคนที่ถูกบังคับให้สูญหาย แต่ยังมีเรื่องใหญ่ด้วยคือข้อเรียกร้อง 7 ประการของเขา ซึ่งก็พูดได้เช่นกันว่าจนถึงวันนี้ก็ยังพูดกันได้แบบไม่ “ทะลุ”

นวลน้อย ธรรมเสถียร
Human Rights

“จะสู้จนกว่าความยุติธรรมในใจของทุกคนจะเบ่งบานออกมา” เสียงเรียกร้องจากผู้หญิงต่อความยุติธรรมที่ยังไม่สิ้นสุด

Reading Time: 3 minutes ในเวทีเสวนา…จากบิลลี่ถึงชัยภูมิสู่ผู้หญิงนักปกป้องสิทธิมนุษยชน “Woman: Unfinished Justice ผู้หญิงกับความยุติธรรม: การต่อสู้ไม่สิ้นสุด” เมื่อวันที่ 27 มี.ค. 65 ซึ่งจัดโดย Protection International กลุ่มดินสอสี และกลุ่มด้วยใจรัก เชิญผู้หญิงนักปกป้องสิทธิมนุษยชนมาแลกเปลี่ยน “เส้นทางการต่อสู้” ว่าพบเจออะไร และมีความหวังต่อความกระบวนยุติธรรมแค่ไหน

กัลยาวีร์ แววคล้ายหงษ์
Human Rights

คุยกับ ‘เหยื่อ’ ชั้นผู้น้อยในแวดวงสีกากี มายา(คติ)หญิงเป็นเหตุให้ถูกคุกคามทางเพศ

Reading Time: 2 minutes เจล ข้าราชการสาววัย 26 เปิดใจเล่าถึงภาวะป่วยไข้ทางกายและใจ จากการคุกคามทางเพศของเพื่อนชายในสถานที่ราชการ

ทิพากร ไชย​ประสิทธิ์​