6 ตุลา Archives - Decode

TAG 6 ตุลา
Lorem ipsum dolor sit amet.

Economy

แสนยานุภาพของขบวนการแรงงาน สายธารแห่งการลุกขึ้นสู้ [ตอนที่ 2]

Reading Time: 3 minutes คนทำงาน ฉัตรชัย พุ่มพวง สายธารการลุกขึ้นสู้และชัยชนะของขบวนแรงงานในสังคมไทย ในยุคต้นสมบูรณาญาสิทธิราชย์หลังจากที่ ร.5 รวบอำนาจจากเหล่าเจ้าขุนมูลนายทั่วอาณาบริเวณที่เหลือเป็นรัฐกันชนระหว่างเจ้าอาณานิคมทั้งฝรั่งเศสทั้งอังกฤษได้สำเร็จ ก่อเกิดเป็นรัฐสมบูรณาญาสิทธิราชย์ขึ้นเป็นครั้งแรก พร้อมกันนั้นได้มีการยกเลิกระบบไพร่ทาสไป เนื่องจากมีแรงงานจีนอพยพได้หลั่งไหลเข้ามาในสยามจำนวนมากตั้งแต่สมัย ร.4 ทำให้ต้นทุนของระบบไพร่ทาส เริ่มที่จะแพงและไร้ประสิทธิภาพ เมื่อเทียบกับแรงงานรับจ้างอย่างแรงงานจีน มีการปฏิรูประบบภาษีให้รวมศูนย์มาที่กษัตริย์โดยให้ทุกคนจ่ายภาษีแทนการเรียกเกณฑ์แรงงานบังคับ เมื่อสัดส่วนของแรงงานจีนในสังคมสยามมีมากขึ้น ๆ ปัญหาเรื่องสภาพการทำงานที่ย่ำแย่ จึงเข้มข้นมากขึ้นเรื่อย ๆ ปกติแล้ว เมื่อคนจีนอพยพไปอยู่ที่ไหนในโลก ก็จะมีการพยายามรวมกลุ่มกัน เป็นที่มาของคำว่า “อั้งยี่” ที่เป็นคำใช้เรียกองค์กรของแรงงานจีน ซึ่งจริง ๆ แล้วทำหน้าที่คล้ายกับสหภาพแรงงานเพื่อต่อรองกับรัฐและทุนนั่นเอง กุลีจีนเหล่านี้เป็นแรงงานกลุ่มแรก ๆ ที่สไตร์คหยุดงานในสยาม ไม่ว่าจะเป็นแรงงานจีนในเหมืองที่ภาคใต้ หรือ กุลีลากรถและกรรมกรแบกข้าวสารในพระนคร ช่วงแรกรัฐบาลสมบูรณาฯ ก็รู้สึกสะดวกในการดีลกับผู้นำของอั้งยี่ทำให้ควบคุมจัดการพวกแรงงานจีนทำได้ง่าย แต่พอนานไปเข้าก็รู้สึกได้ถึงอำนาจต่อรองที่มากเกินไป เพราะมีเหตุการณ์ที่แรงงานจีนเหล่านี้สไตร์คหยุดงาน จึงทำให้ต้องออกกฎหมายอั้งยี่ซ่องโจรออกมา เพื่อกดปราบแรงงานจีนเหล่านี้ เมื่อเกิดการปฏิวัติเปลี่ยนแปลงการปกครองโดยคณะราษฎรในปี 2475 ขบวนแรงงานในสังคมไทยก็เติบโตมากขึ้นเรื่อย ๆ บางยุครวมตัวกันได้อย่างแข็งขัน บางยุคถูกฝั่งรัฐและทุนโต้กลับกดปราบ โดยเฉพาะยุคเผด็จการสฤษดิ์ ถนอม ประภาส ที่มีการใช้มาตรา 17 ประหารสุภชัย ศรีสติ ผู้นำแรงงาน […]

6 ตุลา

แสนยานุภาพของขบวนการแรงงาน สายธารแห่งการลุกขึ้นสู้ [ตอนที่ 2]

Reading Time: 3 minutes คนทำงาน ฉัตรชัย พุ่มพวง สายธารการลุกขึ้นสู้และชัยชนะของขบวนแรงงานในสังคมไทย ในยุคต้นสมบูรณาญาสิทธิราชย์หลังจากที่ ร.5 รวบอำนาจจากเหล่าเจ้าขุนมูลนายทั่วอาณาบริเวณที่เหลือเป็นรัฐกันชนระหว่างเจ้าอาณานิคมทั้งฝรั่งเศสทั้งอังกฤษได้สำเร็จ ก่อเกิดเป็นรัฐสมบูรณาญาสิทธิราชย์ขึ้นเป็นครั้งแรก พร้อมกันนั้นได้มีการยกเลิกระบบไพร่ทาสไป เนื่องจากมีแรงงานจีนอพยพได้หลั่งไหลเข้ามาในสยามจำนวนมากตั้งแต่สมัย ร.4 ทำให้ต้นทุนของระบบไพร่ทาส เริ่มที่จะแพงและไร้ประสิทธิภาพ เมื่อเทียบกับแรงงานรับจ้างอย่างแรงงานจีน มีการปฏิรูประบบภาษีให้รวมศูนย์มาที่กษัตริย์โดยให้ทุกคนจ่ายภาษีแทนการเรียกเกณฑ์แรงงานบังคับ เมื่อสัดส่วนของแรงงานจีนในสังคมสยามมีมากขึ้น ๆ ปัญหาเรื่องสภาพการทำงานที่ย่ำแย่ จึงเข้มข้นมากขึ้นเรื่อย ๆ ปกติแล้ว เมื่อคนจีนอพยพไปอยู่ที่ไหนในโลก ก็จะมีการพยายามรวมกลุ่มกัน เป็นที่มาของคำว่า “อั้งยี่” ที่เป็นคำใช้เรียกองค์กรของแรงงานจีน ซึ่งจริง ๆ แล้วทำหน้าที่คล้ายกับสหภาพแรงงานเพื่อต่อรองกับรัฐและทุนนั่นเอง กุลีจีนเหล่านี้เป็นแรงงานกลุ่มแรก ๆ ที่สไตร์คหยุดงานในสยาม ไม่ว่าจะเป็นแรงงานจีนในเหมืองที่ภาคใต้ หรือ กุลีลากรถและกรรมกรแบกข้าวสารในพระนคร ช่วงแรกรัฐบาลสมบูรณาฯ ก็รู้สึกสะดวกในการดีลกับผู้นำของอั้งยี่ทำให้ควบคุมจัดการพวกแรงงานจีนทำได้ง่าย แต่พอนานไปเข้าก็รู้สึกได้ถึงอำนาจต่อรองที่มากเกินไป เพราะมีเหตุการณ์ที่แรงงานจีนเหล่านี้สไตร์คหยุดงาน จึงทำให้ต้องออกกฎหมายอั้งยี่ซ่องโจรออกมา เพื่อกดปราบแรงงานจีนเหล่านี้ เมื่อเกิดการปฏิวัติเปลี่ยนแปลงการปกครองโดยคณะราษฎรในปี 2475 ขบวนแรงงานในสังคมไทยก็เติบโตมากขึ้นเรื่อย ๆ บางยุครวมตัวกันได้อย่างแข็งขัน บางยุคถูกฝั่งรัฐและทุนโต้กลับกดปราบ โดยเฉพาะยุคเผด็จการสฤษดิ์ ถนอม ประภาส ที่มีการใช้มาตรา 17 ประหารสุภชัย ศรีสติ ผู้นำแรงงาน […]

ฉัตรชัย พุ่มพวง
6 ตุลา

คิดถึงวีรชนคนสามัญ: 50 ปี 14 ตุลา

Reading Time: 3 minutes “แม่ผมมีร้านขายของในกรมทหารที่สนามบินน้ำ ผมช่วยแม่ขายของ” ประเวศเล่า “ช่วงนั้นทหารเขาปิดไม่ให้คนเข้าออก แล้วก่อนหน้านั้นมันก็มีการชุมนุมมาเรื่อย ผมอยากไปแต่ก็ไปไม่ได้เพราะเขาไม่ให้ออกจากค่ายทหาร พอมาถึงวันนั้นมันเป็นวันอาทิตย์ วันหยุด ผมแอบมุดรั้วหนีออกไปจนได้ ก็ไม่รู้อะไรมันดลใจให้ออกไป” แล้วประเวศก็ยกเหตุของสิ่งที่เกิดขึ้นกับเขาในวันนั้นให้เป็นเรื่องของการที่ “คนมันจะโดนยิงน่ะ”

นวลน้อย ธรรมเสถียร
6 ตุลา

ความหวัง ยังไม่ตาย ใต้เผด็จการลายพราง

Reading Time: 3 minutes เพราะการสะสางอดีต ไม่ใช่เพื่อให้เราก้าวข้ามโดยไม่สนใจความสูญเสียที่เกิดขึ้น แต่เป็นการมองเพื่อที่เราจะได้เดินไปอย่างมั่นคง ต่อความอยุติธรรมที่เกิดขึ้นโดยชนชั้นนำต่างหาก

นทธร เกตุชู
6 ตุลา

สืบหาปีศาจ ‘6 ตุลา’ ที่ซ่อนอยู่ในรายละเอียด

Reading Time: 3 minutes ในวาระครบรอบ 46 ปี 6 ตุลา โครงการจัดตั้งพิพิธภัณฑ์ 6 ตุลา-October 6 Museum Project ได้กลับมาจัดนิทรรศการเกี่ยวกับเหตุการณ์นี้อีกครั้งในชื่อ “6 ตุลา เผชิญหน้าปิศาจ” (Oct 6: Facing Demons) ภายใต้คอนเซ็ปต์ “ปิศาจซ่อนอยู่ในรายละเอียด” ซึ่งเป็นการรวบรวมภาพถ่ายร่วมสมัยกับเหตุการณ์ครั้งนั้นมาจัดแสดง

ปิยวัฒน์ สีแตงสุก
6 ตุลา

ชำระประวัติศาสตร์บาดแผลที่จบไม่ได้ ลืมไม่ลง

Reading Time: 3 minutes 6 ตุลากำลังจะครบปีที่ 46 อีกครั้ง “อยากให้เราสนใจคนที่เสียชีวิตในเหตุการณ์ ‘6 ตุลา’ ในฐานะปัจเจกบุคคล ไม่อย่างนั้นเราก็จะจดจำมันแค่ตัวเลข”

ฟาห์เรนน์ นิยมเดชา
6 ตุลา

ลบไม่ได้ช่วยให้ลืม ‘คนตัวเล็ก’ ในประวัติศาสตร์กระแสรอง

Reading Time: 3 minutes ชวนอ่านเรื่องราวนิทรรศการของคนตัวเล็กๆ ของประวัติศาสตร์กระแสรอง เรื่องราวที่ไม่ได้อยู่ในแบบเรียน ใน The battle wound และกล่องฟ้าสาง

พริม มณีโชติ
6 ตุลา

เพราะ…นักรบมีพื้นที่มากกว่านักการทูตในประวัติศาสตร์ไทย “เดี่ยว ธงชัย”ผู้หลงใหลประวัติศาสตร์ แต่ไม่หลงรักอย่างที่ควรจะเป็น

Reading Time: 3 minutes “ผมว่าการเปลี่ยนแปลงทุกครั้งมีความขัดแย้ง ที่ไหนมีความขัดแย้ง ที่นั่นคือที่ที่มีชีวิต ความขัดแย้งมันอยู่ในตัวเราตลอด ที่ไหนไม่มีความขัดแย้งที่นั่นคือตายแล้ว” ฟังเผิน ๆ หลายคนอาจจะตีความว่าประโยคนี้คงหนีไม่พ้นซ่อนประเด็นการเคลื่อนไหวทางการเมือง ที่กำลังร้อนแรงทะลุปรอทอยู่ขณะนี้เป็นแน่ แต่ไม่ใช่สำหรับ “ธงชัย อัชฌายกชาติ” หรือ เดี่ยว นักศึกษาชั้นปี 1 สาขาประวัติศาสตร์ คณะศิลปศาสตร์ มหาวิทยาลัยธรรมศาสตร์ที่กำลังสะท้อนให้เห็นว่า เหตุใดการเปิดพื้นที่ให้ถกเถียงในห้องเรียนประวัติศาสตร์จึงควรเกิดขึ้น ไม่เช่นนั้นก็เท่ากับเป็นห้องเรียนที่รอการหายไปเท่านั้น

สมิตานัน หยงสตาร์