Columnist
อุดมคติและการปฏิบัติได้จริง เส้นทางที่(ไม่)ต้องเลือก
Reading Time: < 1 minute คำว่า “อุดมคติ” กับการ “ปฏิบัติได้จริง” ในประวัติศาสตร์ของมนุษยชาติมันไม่ได้ห่างกันหรืออยู่ตรงกันข้ามแบบขาวดำแบบที่คนในยุคปัจจุบันเข้าใจ
Reading Time: < 1 minute คำว่า “อุดมคติ” กับการ “ปฏิบัติได้จริง” ในประวัติศาสตร์ของมนุษยชาติมันไม่ได้ห่างกันหรืออยู่ตรงกันข้ามแบบขาวดำแบบที่คนในยุคปัจจุบันเข้าใจ
Reading Time: < 1 minute คำว่า “อุดมคติ” กับการ “ปฏิบัติได้จริง” ในประวัติศาสตร์ของมนุษยชาติมันไม่ได้ห่างกันหรืออยู่ตรงกันข้ามแบบขาวดำแบบที่คนในยุคปัจจุบันเข้าใจ
Reading Time: < 1 minute เรามักพูดกันอยู่เสมอว่า “การแข่งขันคือธรรมชาติของมนุษย์” แต่จริง ๆ แล้วหาได้เป็นแบบนั้น “เราคุ้นเคยกับการดูแลและความปลอดภัย” ความปลอดภัยต่างหากที่ทำให้เราเป็นมนุษย์ หรือเราคุ้นเคยกับรัฐสวัสดิการ มากกว่า ทุนนิยม
Reading Time: < 1 minute อ่านจบผมลองเทียบเคียงบริบทการเมืองไทยในปี 2566 หุ่นไล่กาก็คือชาวนา หรือแรงงานภาคเกษตร แรงงานดั้งเดิมมหาศาลในสังคมไทย แม้แรงงานและมูลค่าภาคเกษตรจะลดลงอย่างต่อเนื่อง ปัจจุบันกำลังแรงงานภาคเกษตรอยู่ที่ ประมาณ 12 ล้านคน จากกำลังแรงงาน 38 ล้านคน แม้สัดส่วนจะลดลงแต่ก็ยังเป็นสัดส่วนสูงถึงร้อยละ 30 หุ่นไล่กาที่ตามหาสมอง กับ เด็กผู้หญิงตัวน้อย เมื่อมองย้อนในบริบทการเมืองไทย การที่แรงงานภาคเกษตรจำนวนมหาศาลไม่สามารถที่จะรวมตัวต่อรองได้ ใช้ชีวิตกระจัดกระจาย ตามแต่ที่นโยบายรัฐและกลุ่มทุนจะโยนมาให้ ไม่ว่าจะเป็นนโยบายสินเชื่อต่าง ๆ ที่ผลักให้เกษตรกรไทย อยู่ในกับดักหนี้ หนี้ทับหนี้ วนไป ทำให้พลังมหาศาลของแรงงานภาคเกษตรหายไป และถูกควบคุมโดยกลุ่มทุนผ่านเงื่อนไขต่าง ๆ ไม่เห็นอดีต ไม่เห็นปัจจุบัน ไม่มีอนาคต เหมือน “หุ่นไล่กา” ที่ทำงานซ้ำเดิม ไม่มีชีวิตชีวา เป็นร้อยเป็นพันปีไม่มีใครสนใจ
Reading Time: < 1 minute การเปลี่ยนแปลงทางสังคมจะเกิดขึ้นไวกว่าการเปลี่ยนแปลงทางการเมืองและเศรษฐกิจ ซึ่งอาจเกิดได้ทันทีหลังการเลือกตั้ง ดังนั้นในกรณีของสังคมไทยแม้การเลือกตั้ง อาจยังไม่ได้เห็นการเปลี่ยนแปลงทางอำนาจรัฐที่ชัดเจน
Reading Time: 2 minutes เพียงนาทีเดียวของเจ้าสัว ก็รวยเท่ากับคนทั่วไปทำงานทั้งชีวิต “การเก็บภาษีความมั่งคั่ง” จึงเป็นหนทางที่จะลดความเหลื่อมล้ำและสร้างรัฐสวัสดิการให้เกิดขึ้นจริง
Reading Time: < 1 minute ความต้องการของประชาชนจึงไม่ใช่ความเมตตาทางเศรษฐกิจ แต่พวกเขาปรารถนาต่อการเปลี่ยนแปลงทางเศรษฐกิจ และข้ออ้างของกลุ่มทุนผูกขาดว่าพวกเขาเก่ง ขยัน หรือฉลาดจนได้รับความมั่งคั่งมหาศาลนี้ก็สมเหตุสมผลน้อยลงทุกทีในสายตาของประชาชน
Reading Time: < 1 minute การเปลี่ยนแปลงหลังการเลือกตั้งเมื่อ 14 พฤษภาคม 2566 แม้จะเป็นการเลือกตั้งเพียงครั้งเดียว แต่นับเป็น ย่อหน้าสุดท้ายของคำนำว่าด้วยการเปลี่ยนแปลงที่จะเกิดขึ้นต่อไป แม้จะไวเกินไปที่จะหาบทสรุป แต่สิ่งที่เราสามารถสะท้อนเบื้องต้นถึงการเปลี่ยนแปลงทั้งในทาง การเมือง เศรษฐกิจ สังคม หลังการเลือกตั้งก็มีส่วนที่ชัดเจนสามารถวิเคราะห์ต่อเพิ่มเติมได้เช่นกัน โดยในบทความนี้ผู้เขียนขอพิจารณาเงื่อนไขการเปลี่ยนแปลงเบื้องต้นคือ การเปลี่ยนแปลงทางด้านอุดมการณ์ทางการเมืองหลังการเลือกตั้ง
Reading Time: 2 minutes อุดมการณ์ของพรรคการเมืองก็ยังเป็นตัวชี้ขาดลักษณะของนโยบายสวัสดิการที่แตกต่างกัน และความแตกต่างกันนี้ย่อมส่งผลให้เมื่อมีการจัดตั้งรัฐบาล ลำดับความสำคัญของนโยบายที่หาเสียงไว้ย่อมแตกต่างกันไปด้วย
Reading Time: < 1 minute ชวนพิจารณาถึงฐานความคิด ที่สะท้อนความเป็นอนุรักษนิยมด้านสวัสดิการผ่านสองนโยบายคือนโยบายระบบสวัสดิการแบบคูปองและระบบสวัสดิการที่ผูกกับการพิสูจน์ความจน
Reading Time: < 1 minute สิ่งที่เราจำเป็นต้องทำก็คือไม่ต้องเป็นติ่ง ไม่ต้องแบก ไม่ต้องไปคิดถึงเรื่องยุทธศาสตร์อะไรต่าง ๆ แต่ให้พูดอย่างตรงไปตรงมาว่าเราต้องการอะไร ต้องการเมื่อไหร่
Reading Time: < 1 minute เราไม่ได้เรียกร้องให้คนที่เกิดมามีต้นทุนชีวิต +3 +4 ลงมาติดลบหรือเริ่มต้นที่ศูนย์แต่อย่างใด เราแค่อยากให้เด็กน้อยที่ชีวิตติดลบ ได้เริ่มต้นใกล้เคียงกับลูกหลานชนชั้นกลางที่มีโอกาสมากล้นในเมือง มันไม่ใช่เพียงแค่ความยุติธรรมตามกฎหมาย หรือความยุติธรรมในการแข่งขันทางเศรษฐกิจ แต่หมายรวมถึงความยุติธรรมในสังคมที่ทำให้เราสามารถเข้าถึงสวัสดิการที่ดีได้เช่นการเรียนหนังสือ การรักษาพยาบาล เงินบำนาญ ขนส่งสาธารณะ รวมถึงการเข้าถึงการศึกษาระดับมหาวิทยาลัยโดยไม่ต้องมีหนี้สิน สิ่งนี้จะทำให้เราอยู่ในสังคมที่ยุติธรรมมากขึ้น และเริ่มต้นเท่ากัน
Reading Time: 2 minutes วงเสวนา “การเริ่มต้นบทสนทนาเรื่อง CARE INCOME คุณค่าและค่าตอบแทนงานของแม่และคนทำงานดูแล” ซึ่งมีการพูดถึงและอยากให้สังคมมีการผลักดันให้ “คนทำงานดูแล” มีค่าตอบแทน มีรัฐสวัสดิการ เพราะนี่ก็ถือ “เป็นการงาน” เช่นกัน ซึ่งที่ผ่านมาในปีประเทศไทยเคยลงนามในปฏิญญาและแผนปฏิบัติเพื่อความก้าวหน้าของสตรีเมื่อปี 2538 ซึ่งระบุว่า ต้องคิดมูลค่าเศรษฐกิจของงานดูแลบ้านที่ผู้หญิงทำด้วย แต่จนถึงทุกวันนี้ ยังไม่มีอะไรเปลี่ยนแปลง