รัฐประหาร Archives - Decode

TAG รัฐประหาร
Lorem ipsum dolor sit amet.

Play Read

ความเปราะบางของรัฐไทย

Reading Time: 3 minutes หลัง กอ.รมน. ขอความร่วมมือให้ระงับการจำหน่ายกลายเป็นประเด็นท้าทายให้ผู้คนตั้งคำถามต่อความมั่นคงภายใน เป็นความมั่นคงของใคร และเพื่อใครกัน ทั้งยังเปิดเผยให้เรานิยามภัยความมั่นคงของชาติในแบบสากล ภัยคุกคามของชาติไม่ใช่พรรคการเมือง ไม่ใช่การรวมกลุ่มของประชาชน และไม่ใช่การแสดงออกทางการเมืองของประชาชน แต่คือ ปัญหาโครงสร้างทางเศรษฐกิจและสังคมที่หากไม่ได้รับการแก้ไขอย่างจริงจังจะบั่นทอนความเข้มแข็งของชาติ

รัฐประหาร

ความเปราะบางของรัฐไทย

Reading Time: 3 minutes หลัง กอ.รมน. ขอความร่วมมือให้ระงับการจำหน่ายกลายเป็นประเด็นท้าทายให้ผู้คนตั้งคำถามต่อความมั่นคงภายใน เป็นความมั่นคงของใคร และเพื่อใครกัน ทั้งยังเปิดเผยให้เรานิยามภัยความมั่นคงของชาติในแบบสากล ภัยคุกคามของชาติไม่ใช่พรรคการเมือง ไม่ใช่การรวมกลุ่มของประชาชน และไม่ใช่การแสดงออกทางการเมืองของประชาชน แต่คือ ปัญหาโครงสร้างทางเศรษฐกิจและสังคมที่หากไม่ได้รับการแก้ไขอย่างจริงจังจะบั่นทอนความเข้มแข็งของชาติ

รศ.ดร.ประจักษ์ ก้องกีรติ
รัฐประหาร

เปลี่ยน ‘วิกฤต’ แรงงานเมียนมา เป็น ‘โอกาส’ ฟื้นศก.ไทย เผือกร้อนในมือ ‘รัฐบาลอุ๊งอิ๊ง’

Reading Time: 3 minutes เรื่องใหญ่ของประเทศเพื่อนบ้านอย่าง “เมียนมา” ที่หลายเรามักเห็นตามหน้าสื่อคือ สภาพบ้านเมืองของเมียนมาในยุคเผด็จการทหาร “มิน อ่อง หล่าย” ที่พ่วงมากับสถานการณ์สงครามระหว่างฝ่ายรัฐบาลเผด็จการทหารกับกลุ่มชาติพันธุ์ต่างๆ ดังกรณีของการนำเสนอข่าวสงครามที่เมืองเมียวดีซึ่งปะทุขึ้นในช่วงเมษาหน้าร้อนที่ผ่านมา

ปิยวัฒน์ สีแตงสุก
รัฐประหาร

รัฐนาวา สู่ รัฐอากาศยานสิ้นสุดลง เมื่อประตูอากาศยานนั้นเปิดออก

Reading Time: 4 minutes ส่วนหนึ่งของใจความสำคัญจากปาฐกถาของ ศ.ดร.ชัยวัฒน์ สถาอานันท์ เรื่อง “รัฐอากาศยาน” ในงานดิเรก ทอล์ค เนื่องในโอกาสครบรอบ 70 ปี คณะรัฐศาสตร์ มหาวิทยาลัยธรรมศาสตร์ ปี 2562 ในช่วงเวลาที่สังคมไทยอยู่ภายใต้รัฐบาล พล.อ.ประยุทธ์ จันทร์โอชา โดยหลังการเลือกตั้ง 2562 พรรคพลังประชารัฐได้โอกาสจัดตั้งรัฐบาลและเทียบเชิญผู้นำการรัฐประหารขึ้นดำรงตำแหน่งนายกรัฐมนตรีอีกสมัย

Decode
รัฐประหาร

ไกลบ้านเพราะการเมือง 14 ปีของการลี้ภัยและประชาธิปไตยที่ทลายเจ้า-ปืน-ทุนของ ‘จรรยา ยิ้มประเสริฐ’

Reading Time: 5 minutes ฉากชีวิตของจรรยา ยิ้มประเสริฐ จากเด็กเรียนดีแห่งบางปลาม้ากลายเป็นคนไม่รักในหลวง สู่ข้อถกเถียงมาตรา 112 ในวันที่กฎหมายภายใต้ความจงรักภักดีนี้ยังบีบบังคับให้ใครหลายคนต้องไกลบ้าน ไม่ได้กลับบ้าน หรือกลับบ้านเพียงร่างที่ไร้วิญญาน
ถึงเวลาสร้างประวัติศาสตร์ฉบับประชาชน เขียนเครื่องหมายคำถามตัวใหญ่กับการถูกทำให้หายไปอำนาจรวมตัวต่อรองของประชาชนต่อสถาบันกษัตริย์ คณะรัฐประหาร ทุนผูกขาด รวมถึงรัฐบาลอภิสิทธิ์และพรรคเพื่อไทย ในความขัดแย้งตลอดระยะเวลาที่ผ่านมา สังคมไทยกำลังก้าวข้ามความขัดแย้งแบบใดกันแน่
58 ปีตลอดชีวิต 14 ปีที่ต้องลี้ภัยกับ 1 ความหวังของจรรยา สังคมไทยในวันข้างหน้าจะไม่มีคนรุ่นใหม่คนไหนต้องลี้ภัยอีกแล้ว

นทธร เกตุชู
รัฐประหาร

คิดถึงวีรชนคนสามัญ: 50 ปี 14 ตุลา

Reading Time: 3 minutes “แม่ผมมีร้านขายของในกรมทหารที่สนามบินน้ำ ผมช่วยแม่ขายของ” ประเวศเล่า “ช่วงนั้นทหารเขาปิดไม่ให้คนเข้าออก แล้วก่อนหน้านั้นมันก็มีการชุมนุมมาเรื่อย ผมอยากไปแต่ก็ไปไม่ได้เพราะเขาไม่ให้ออกจากค่ายทหาร พอมาถึงวันนั้นมันเป็นวันอาทิตย์ วันหยุด ผมแอบมุดรั้วหนีออกไปจนได้ ก็ไม่รู้อะไรมันดลใจให้ออกไป” แล้วประเวศก็ยกเหตุของสิ่งที่เกิดขึ้นกับเขาในวันนั้นให้เป็นเรื่องของการที่ “คนมันจะโดนยิงน่ะ”

นวลน้อย ธรรมเสถียร
รัฐประหาร

ฟิลาเดลเฟียลูกอีสาน นิยายเรื่องยาวของการต่อต้านอำนาจนิยม รัฐรวมศูนย์

Reading Time: 3 minutes การตั้งมั่นทางอุดมการณ์ที่จะไม่ยอมอยู่ภายใต้อำนาจศูนย์กลางของรัฐไทย สะท้อนผ่านความคิดของวิทยากร โสวัตร หรือ “พี่เจี๊ยบ” นักอ่าน นักเขียน และคนลาวอีสานที่มีใจรักหนังสือ ปัจจุบันเขาทำร้านหนังสืออิสระชื่อว่า ฟิลาเดลเฟีย ในจังหวัดอุบลราชธานี ซึ่งเรื่องราวของที่นี่ไม่ได้มีแค่หนังสือเพียงอย่างเดียว แต่พื้นที่แห่งนี้เกี่ยวข้องกับเรื่องประวัติศาสตร์ การเมือง สังคม เศรษฐกิจหลายแง่มุม ทั้งยังเชื่อมโยงกับตัวตนของวิทยากร

ปิยวัฒน์ สีแตงสุก
รัฐประหาร

จากชิลีถึงบูร์กินาฟาโซ: เงามืดของอดีตแสงสว่างของอนาคต

Reading Time: < 1 minute ทวีปแอฟริกาเป็นภูมิภาคที่เกิดการรัฐประหารบ่อยครั้งที่สุดในระยะหลัง แต่ก็มิใช่ภูมิภาคเดียวที่เผชิญปัญหานี้ ตัดภาพมาที่เอเชีย เดือนกุมภาพันธ์ 2564 เกิดการรัฐประหารที่พม่า

รศ.ดร.ประจักษ์ ก้องกีรติ
รัฐประหาร

‘สมชาย ปรีชาศิลปกุล’ มองอ่างแก้ว เห็นยอดตึกรัฐสภา แขนขารัฐประหารและชนชั้นนำ

Reading Time: 2 minutes เป็นที่น่าจับตามอง ถึงการลุกขึ้นมาแสดงวิสัยทัศน์ของคณาจารย์ในรั้วมหาวิทยาลัยเชียงใหม่ ที่ได้ถูกเสนอชื่อเป็นอธิการบดีคนต่อไป ลึกลงไปในเนื้อหาบทปราศรัยของอาจารย์แต่ละท่าน คือคำถามต่อระบอบสังคมเก่าที่ยังคงแทรกซึมและฝังลึกอยู่ในสังคมปัจจุบัน

นทธร เกตุชู