บุญเลิศ วิเศษปรีชา Archives - Decode

TAG บุญเลิศ วิเศษปรีชา
Lorem ipsum dolor sit amet.

บุญเลิศ วิเศษปรีชา

#สุขุมวิท11 เราต่างคือผู้ถูกกระทำ

Reading Time: 2 minutes เส้นแบ่งระหว่างเหยื่อและผู้ถูกกระทำพร่าเลือน กลายเป็นพื้นที่สีเทา (grey zone) ที่ไม่อาจแบ่งแยกแบบ ขาว-ดำ ได้

รศ.ดร.บุญเลิศ วิเศษปรีชา
บุญเลิศ วิเศษปรีชา

ดีกรีของความเป็นชุมชน

Reading Time: 3 minutes แม้ว่าปัจจุบันคนจำนวนมากพูดคุยผ่านสื่อสังคมออนไลน์บ่อยครั้งกว่าพูดคุยเพื่อนบ้านที่อาศัยอยู่ติดกันเสียอีก แต่นั่นไม่ได้หมายความว่าชุมชนบนฐานของสถานที่ (place-based community) ที่ผู้คนพบหน้าค่าตากันจริง ๆ จะหมดความหมายโดยสิ้นเชิง และหากเปรียบเทียบกันแล้ว สถานที่ที่ผู้คนได้พบหน้ากันตัวเป็น ๆ ช่วยส่งเสริมให้เกิดความเหนียวแน่นมากกว่าชุมชนไร้สถานที่ (place-less community) เช่น ชุมชนบนโลกออนไลน์

รศ.ดร.บุญเลิศ วิเศษปรีชา
บุญเลิศ วิเศษปรีชา

‘สิ้นเสียงปืน’ ถอดรหัสความรุนแรงในสังคมไทย บนทางแพร่ง ‘สันติวิธี’ อันพร่าเลือน

Reading Time: 4 minutes ต้องมองแนวทางสันติวิธีให้เป็นมากกว่ากลยุทธ์ในการชุมนุม จะรีบเร่งหรือผ่อนแรงไม่ใช่ปัญหา หากแต่ต้องมองระยะยาว ต้องเป็นการต่อสู้ที่สั่งสมพลังจากการรวมกลุ่มที่กว้างขวางขึ้น อยู่บนยุทธศาสตร์ที่วางแผนว่าจะทำอะไรต่อไป เพื่อกระชากพรมออกจากเท้าผู้คนให้ได้

ธเนศ แสงทองศรีกมล
บุญเลิศ วิเศษปรีชา

โคลอมเบีย (2): เปลี่ยนเมืองอันตรายให้กลายเป็นมิตร

Reading Time: 4 minutes ในฐานะนักมานุษยวิทยา ผมอยากพูดถึงประสบการณ์จากการได้เดินอยู่ในเมืองเมเดยิน และเมืองโบโกต้า ซึ่งเป็นเมืองหลวงของประเทศโคลอมเบียราวหนึ่งสัปดาห์ และรู้สึกได้ว่า เมืองเมเดยินเป็นเมืองที่เป็นมิตรมาก

รศ.ดร.บุญเลิศ วิเศษปรีชา
บุญเลิศ วิเศษปรีชา

“คนสลัม” เพื่อนบ้านที่เราไม่ค่อยรู้จัก

Reading Time: 3 minutes ผมเชื่อว่าคนส่วนใหญ่น่าจะเคยได้ยินคำว่าสลัมหรือชุมชนแออัดมาบ้าง หรือบางคนเคยผ่านเคยเห็นชุมชนแออัด แต่บ่อยครั้งที่ผมคุยกับนักศึกษาในชั้นเรียนซึ่งส่วนใหญ่เป็นลูกหลานชนชั้นกลาง พวกเขาและเธอไม่ค่อยเข้าใจนักว่า สลัมหรือชุมชนแออัด ก่อร่างสร้างตัวมาได้อย่างไร

รศ.ดร.บุญเลิศ วิเศษปรีชา
บุญเลิศ วิเศษปรีชา

เมืองธรรมดากับผู้ว่า ฯ ของคนธรรมดา

Reading Time: 3 minutes ความรู้และวิสัยทัศน์เกี่ยวกับเมืองกระแสหลักนั้นถูกชี้นำโดยประสบการณ์ของเมืองในประเทศตะวันตก จึงมีลักษณะครอบงำหรือเป็นการสร้างอาณานิคมทางความรู้  หลายเมืองในโลกก็ถูกเรียกว่า เมืองที่กำลังพัฒนา (developing cities) หรือ เมืองในประเทศโลกที่สาม (third world cities) ที่ต้องยอมรับความรู้และเดินตามเมืองที่ ‘พัฒนาแล้ว’ ‘เมืองต้นแบบ’

รศ.ดร.บุญเลิศ วิเศษปรีชา
บุญเลิศ วิเศษปรีชา

เกินกว่าสายตาจะมองเห็น “บ้านที่กลับไม่ได้”

Reading Time: 2 minutes เกินกว่าสายตาจะมองเห็น บ้านที่กลับไม่ได้ การตามหาบ้านเพื่อเข้าใจความเป็นมนุษย์ของผู้คนที่กิน-นอนริมทาง ในแบบฉบับของ อาจารย์บุญเลิศ วิเศษปรีชา จึงกินความหมายกว้างกว่าที่เราจะนึกถึง

วิภาพร วัฒนวิทย์