Project Archives - Decode

CATEGORY Project
Lorem ipsum dolor sit amet.

Project

ขายแรงแลกเงิน

Reading Time: < 1 minute สิ่งที่น่าสนใจของแรงงานภาคเหนือคือพลวัตของ Sex Worker ย่านยูเทิร์นที่มีประวัติศาสตร์ท้องถิ่นชวนจินตนาการ เมื่อก่อนจะมีอาชีพแปลกอย่างหนึ่งควบคู่กับงานบริการทางเพศ นั่นคือซุ้มยาโด้ปเลือดงูที่ตั้งตามตรอกซอกซอยไว้ดื่มให้กระปรี้กระเปร่าก่อนเข้าห้องพร้อมกับผู้ให้บริการ กระทั่งรัฐเข้ามาจัดระเบียบ อาชีพนี้จึงหายไป

editor
Project

ตลาด 4 บุคลิก กับ โหม๋เรา

Reading Time: 2 minutes เท้าในหาดใหญ่ และน้องฟักแฟง จาก Decode ร่วมกับ นักเขียนท้องถิ่น และ ทีมงาน Hatyai Book Club เดินเท้าสำรวจชีวิตผู้คนยามค่ำคืนในตลาด 4 แห่ง 4 บุคลิก ย่านชานเมืองหาดใหญ่ (ตลาดหลังฟลอริด้า ตลาดทุ่งเสา ตลาด ป.ณัฐพล ตลาดใหม่) เพื่อสัมผัสวิถีวัฒนธรรม อาหารการกิน พร้อมประวัติศาสตร์ท้องถิ่นผ่านเรื่องเล่าฉบับชาวบ้าน การเดินเมืองครั้งนี้ จึงเป็นช่วงเวลาแสนวิเศษครั้งหนึ่งในชีวิตเลยก็ว่าได้

editor
Project

21 ปีที่ไม่มีวันชนะช้างป่า ‘เขาวงศ์’ ความคับข้องใต้ภูเขาน้ำแข็งป่ารอยต่อ

Reading Time: 3 minutes 21 ปีที่ ยอดรัก เปลี่ยนอาชีพและพืชผลทางการเกษตรครั้งใหญ่ละทิ้งองค์ความรู้ เดิมและเรียนรู้สิ่งใหม่ถึง 3 ครั้ง ข้าวโพดและมันสำปะหลัง ที่เคยเป็นพืชเศรษฐกิจที่สร้างรายได้ให้กับเกษตรกรไทย และมีรัฐบาลสนับสนุนการปลูกพืชชนิดดังกล่าว กลับประสบปัญหาไม่สามารถปลูกได้เนื่องจากถูกช้างขโมยกิน เพื่อปกป้องผลผลิตที่เป็นดั่งผลตอบแทนของต้นทุนและหยาดเหงื่อที่ลงทุนลงแรงเลี้ยงดูปูเสื่อเป็นอย่างดีนับแต่วันที่ เริ่มไถพรวนดินจนถึงวันเก็บเกี่ยว ณ ช่วงแรก ยอดรักและชาวบ้านเขาวงศ์จากเดิมที่เป็นเกษตรกรตอนกลางวัน ก็ ต้องผันตัวไปเป็นคนเฝ้าช้าง

ธนพล เลิศเกียรติดำรงค์
Project

ขอแค่ความหวัง นาขาวังรุ่นสุดท้าย

Reading Time: 3 minutes พื้นที่ความสมบูรณ์แห่งนี้ กำลังตกอยู่ในสภาวะสุ่มเสี่ยงที่จะเกิดปัญหาสิ่งแวดล้อม ทั้งมลภาวะทางน้ำ อากาศ ฝุ่น  ควัน จากการก่อตั้งโรงงานอุตสาหกรรมหลากหลาย แบบหลีกเลี่ยงไม่ได้

Decode
Project

ขยะริมรั้ว มะม่วงข้ามแดน สิ้นสุดการเยียวยาหนองแหน ‘แค่…รอให้เราหมดแรงขัดขืน’

Reading Time: 2 minutes ขยะนับอนันต์ที่โอบรัด ‘หนองแหน’ ก็ได้เข้ามาเปลี่ยนแปลงระบบนิเวศ หรือเข้ามา เปลี่ยนความสัมพันธ์ของชาวบ้านกับสิ่งแวดล้อม จากพื้นที่ที่ถูกขนานนามว่าเป็นแหล่งผลิตอาหารที่สำคัญ แห่งหนึ่งของภาคตะวันออก มาสู่พื้นที่ที่มีผลผลิตทางการเกษตรไม่แน่นอนและผันแปรตามบ่อขยะ “ป้าหนู” หรือ “แม่หนู” ยืนยันถึงผลกระทบนี้ได้ดี่สุด

Decode
Project

ปัจจุบันที่พูดไม่ได้ อนาคตที่ต้องย้ายหนี

Reading Time: 2 minutes บ่อขยะให้เงินกับชุมชนโดยเรียกว่า “เงินสปอนเซอร์” ซึ่งเป็นเงินสําหรับให้หน่วยงานท้องถิ่นนําไปพัฒนาชุมชน โดยมอบเงินผ่านผู้ใหญ่บ้านในหนองแหน เมื่อรับเงินมา ทําให้การจัดการของหน่วยงานท้องถิ่นก็เป็นเรื่องยากขึ้น เสมือนเป็นการยอมรับการมีตัวตนของบ่อขยะในพื้นที่ชุมชน เสียงของคนที่ยังได้รับความเดือดร้อนที่ออกมาเรียกร้องก็ไม่มีน้ำหนัก เพราะมีสมาชิกมองว่าไม่เดือดร้อนมากขนาดนั้น นอกจากนี้สมาชิกจํานวนน้อยที่อาศัยอยู่ใกล้กับบ่อขยะ ยังได้รับผลประโยชน์จาก “เงินเยียวยา” ที่บ่อขยะจ่ายให้กับชาวบ้าน เพื่อป้องกันการฟ้องร้องจากการได้รับผลกระทบ

Decode
Project

ข่าวร้าย ร่างกายฉันมีสารฟีนอล

Reading Time: 2 minutes การสู้เพื่อปกป้องบ้านของเรามีมูลค่าที่ต้องจ่ายมากมายกว่าที่คิดไว้ แต่พวกเรายังคงทําทุกวิถีทางที่จะอยู่บ้านของเราต่อไป

Decode
Project

กระชังปลาในอาณาจักรอีอีซี

Reading Time: 2 minutes หากกล่าวถึงสาเหตุในการที่ชาวบ้านไม่ต้องการให้พื้นที่ชุมชนถูกปรับเปลี่ยนไปเป็นท่าเรือบกแล้วนั้น คงไม่มีอะไรบรรยายได้ดีไปกว่าการที่ลุงยงยุทธพาฉันไปยังกระชังเพาะเลี้ยงปลานิลจิตรลดา ที่ชาวบ้านในชุมชน ยึดเป็นอาชีพหลักในการหารายได้เลี้ยงปากท้อง การเดินพูดคุยถึงวิถีชีวิตในชุมชนก่อนสอบถามถึงท่าเรือบก เป็นสิ่งที่ทําให้ฉันสัมผัสได้ว่าเพราะเหตุใดชาวบ้านจึงต้องการรักษาพื้นที่ซึ่งเป็นบ้านและแหล่งทํามาหากิน “ปลา กุ้ง ปู สัตว์น้ำต่าง ๆ ในพื้นที่อุดมสมบูรณ์มาก เพราะมีน้ำที่ดีแหล่งน้ำเลยเป็นพื้นที่ประกอบอาชีพและเลี้ยงทุกชีวิตในชุมชน”

Decode
Project

Basecamp #1 สู่เส้นทางนักเขียน แลไปข้างหน้า ‘บูรพาเปลี่ยนทิศ’

Reading Time: 2 minutes Basecamp #1 มุ่งหน้าสู่เส้นทางนักเขียน Project ล่าสุดของ Decode.plus เปิดรับสมัครนักเขียนหน้าใหม่ ครั้งนี้มาในธีม ‘บูรพาเปลี่ยนทิศ’ ตอกสมอ ตั้งแคมป์กันที่บางปะกง ในวันที่คลื่นลม“อุตสาหกรรม” โหมพัดแรง

Decode
Project

รับสมัคร นักรีวิวกรุงเทพ[หน้าใหม่]

Reading Time: < 1 minute ‘City Journey’ เดินปลุกกรุง Project ล่าสุดของ Decode.plus ชวนคนรุ่นใหม่/รุ่นใหญ่มาวอล์ค( Walk)วล็อก(Vlog) ปัญหาในกรุงเทพ และความต้องการของคน(อยู่)กรุงจริงๆไม่อิงนิยามจากทะเบียนบ้าน

editor