Environment
5-3-5 พาชายหาดไทยกลับมาอยู่จุดที่ดีอีกครั้ง
Reading Time: 2 minutes เลิก รื้อ เริ่ม วัคซีน 3 เข็มแรก ป้องกันกำแพงกันคลื่นระบาด กว่า 200 กิโลเมตร ที่เอาคืนไม่ได้
Reading Time: 2 minutes เลิก รื้อ เริ่ม วัคซีน 3 เข็มแรก ป้องกันกำแพงกันคลื่นระบาด กว่า 200 กิโลเมตร ที่เอาคืนไม่ได้
Reading Time: 2 minutes เลิก รื้อ เริ่ม วัคซีน 3 เข็มแรก ป้องกันกำแพงกันคลื่นระบาด กว่า 200 กิโลเมตร ที่เอาคืนไม่ได้
Reading Time: 2 minutes ผมเกิดที่ทะเล โตมากับทะเล อยู่กับชายหาดตั้งแต่จำความได้ ผมและเพื่อนเตะบอลชายหาดหลังเลิกเรียนทุกวันและชะล้างเศษทรายบนร่างกายด้วยการโดดน้ำทะเล ก่อนจะกลับไปเจอกับไม้เรียวพ่อที่ถือท่ารออยู่ เพราะเป็นบ้านที่พ่อไม่อนุญาติให้เล่นทะเล ทุกเดือนเมษาจะมีหน้าทรายก่อตัวขึ้นบนผิวน้ำที่เดินลงไปในทะเลเกือบ 50 เมตร เหมือนพวกเราเดินอยู่บนน้ำได้อย่างไรอย่างนั้น ผมเพิ่งรู้จากหนังสือเล่มนี้เช่นกัน ว่าหน้าทรายที่ก่อตัวขึ้น คือตะกอนทรายที่รอเข้าทับถมชายหาดเข้าเติมหาดทราย หลังจากผ่านหน้ามรสุมมาอย่างยาวนาน (หน้ามรสุมก่อตัวขึ้นตั้งแต่เดือนกรกฎาคมและลาจากไปในเดือนธันวาคม) แต่ชายหาดวันนี้ไม่เหมือนเดิม ไม่มีหาดทรายให้เหล่าเด็กผู้ชายได้เตะบอล ไม่มีหน้าทรายที่ก่อตัวขึ้นในช่วงเดือนเมษายน ทั้งหมดทั้งมวลนี้ เป็นผลมาจากกำแพงกันคลื่นยาวกว่าหนึ่งกิโลเมตร จนผมได้มาเจอนักเคลื่อนไหวด้านสิ่งแวดล้อม น้ำนิ่ง อภิศักดิ์ ทัศนี ที่ทำงานด้านการกัดเซาะชายฝั่ง และรณรงค์ให้ข้อมูลว่ากำแพงกันคลื่นไม่ได้คืนชายหาดอย่างที่ทางการไทยชอบว่าไว้ แต่มันกลืนชายหาด และปล่อยโครงสร้างทางกายภาพทิ้งไว้ ให้เป็นแผลเป็นจากรุ่นสู่รุ่นสืบไป โครงสร้างแข็งยาแรงที่มีผลข้างเคียง ยากจะเยียวยา ก่อนจะเข้าใจเนื้อหาโดยรวมของหนังสือ ผู้เขียนเริ่มต้นด้วยการพาเรารู้จักกับรูปแบบต่าง ๆ ของโครงสร้างทางวิศวกรรมที่เอาไว้ป้องกันแนวชายฝั่ง ซึ่งแบ่งออกเป็นสามแบบที่มีการใช้อยู่ในปัจจุบันอย่างแพร่หลาย คือ กำแพงกันคลื่น รอดักทราย และเขื่อนกันคลื่น โครงสร้างแต่ละประเภททำหน้าที่ต่างกัน แต่ล้วนมีผลกระทบต่อชายหาดทั้งสิ้น ซึ่งรูปแบบที่ถูกใช้มากที่สุดในบ้านเราคือโครงสร้างประเภทกำแพงกันคลื่น ที่เป็นโครงสร้างแบบคอนกรีตเสริมเหล็ก หรือหินก้อนใหญ่เรียงต่อกันไปตามแนวชายฝั่ง นับตั้งแต่ปี 2550 เราสูญเสียงบประมาณในการถล่มชายหาดไปแล้วกว่าหมื่นล้าน แต่ตัวเลขนี้ยังไม่น่าจะตกใจเมื่อเราเทียบดูว่าในช่วง 2550-2557 รัฐใช้เงินในการสร้างกำแพงกันคลื่นไปเพียงแค่ 1,900 ล้าน แต่หลังจากประกาศยกเลิกว่ากำแพงกันคลื่นต้องทำ EIA […]
Reading Time: < 1 minute กวีนิพนธ์ ลำดับที่ 19 ของ ด๊ะ โรสนี นูรฟารีดาในคอลัมน์ The Passenger ของเว็บไซต์ Decode.plus
Reading Time: < 1 minute กำแพงกันคลื่นเป็นปัญหาคาราคาซังชายฝั่ง ผ่านทั้งการคัดค้าน ผ่านการประท้วงเรียกร้องต่างๆ นานามานานหลายปี ทั้งที่เรื่องน่าจะจบลงง่ายๆ ด้วยการที่รัฐบาลจะยอมรับฟังนักนิเวศน์วิทยา นักวิทยาศาสตร์ นักอนุรักษ์ และนักวิชาการจำนวนมากที่มีทั้งหลักการ เอกสารอ้างอิง ผลการทดลอง ไปจนกระทั่งภาพถ่ายดาวเทียมทางอากาศที่แสดงบีฟอร์-อาฟเตอร์เป็นประจักษ์พยานชัดเจนถึงความล้มเหลวอย่างสิ้นเชิงของอภิมหาโครงการนี้ยืนยัน
Reading Time: 4 minutes Decode ขอตีตั๋วไปยังหาดม่วงงาม อ.สิงหนคร จ.สงขลา เพื่อพูดคุยกับ น้ำนิ่ง-อภิศักดิ์ ทัศนี ผู้ก่อตั้งกลุ่ม Beach for life กลุ่มคนรุ่นใหม่ผู้อยู่เบื้องหลังปรากฏการณ์การลุกขึ้นมา #saveหาดทราย ในจังหวัดสงขลา ด้วยข้อมูลทางวิชาการและกระบวนการมีส่วนร่วมของชุมชน ว่าพวกเขาคือใคร , กลยุทธ์ #saveหาดทราย ที่สุดแสนปังปุริเย่มีที่มาอย่างไร และ ทำไมภารกิจในการ #saveทรัพยากรธรรมชาติ ถึงเป็นมิชชั่นที่คนรุ่นเราจำเป็นต้องลุกขึ้นมาทำให้สำเร็จ