ดินแดนแห่งการซ้อมทรมาน วิสามัญ และอุ้มหาย
Reading Time: 3 minutes “ตำรวจคือผู้พิทักษ์สันติราษฎร์” คือประโยคที่เราต่างถูกกล่อมเกลามาตั้งแต่เด็ก แต่ยิ่งโตยิ่งเห็นความจริงก็ยิ่งรู้สึกว่านั่นเป็นเรื่องโกหก
Reading Time: 3 minutes “ตำรวจคือผู้พิทักษ์สันติราษฎร์” คือประโยคที่เราต่างถูกกล่อมเกลามาตั้งแต่เด็ก แต่ยิ่งโตยิ่งเห็นความจริงก็ยิ่งรู้สึกว่านั่นเป็นเรื่องโกหก
Reading Time: 3 minutes ผมรู้ว่ามันไม่เกี่ยวข้อง แต่ผมจำเป็นต้องให้การอย่างนี้จริง ๆเพราะว่ามันเป็นคำสั่งนาย
Reading Time: 3 minutes การถอด สุชาติ สวัสดิ์ศรี จึงกลายเป็นสายล่อฟ้าทางการเมืองจากที่ประชุมสภาสู่วงน้ำชา หากว่า ศิลปินยังคงทำหน้าที่สะท้อนสังคม
Reading Time: 3 minutes หากไม่มีนักข่าว สถานการณ์การชุมนุมที่เข้มข้น มีโอกาสที่จะเพลี่ยงพล้ำไปสู่ความรุนแรงมากขึ้น
Reading Time: 3 minutes เราจะต้องรอดออกจากพื้นที่ เพื่อเอาสิ่งที่เกิดขึ้นจริงกลับมาเผยแพร่ออกไป
Reading Time: 3 minutes ห้ามสื่อไม่ให้พูดความจริงที่ไม่ว่าจะน่ากลัวหรือไม่น่ากลัว ก็เท่ากับตัดขาดช่องทางในการช่วยเหลือชีวิตประชาชน แบบนี้ดูไร้ซึ่งหัวใจความเป็นมนุษย์
Reading Time: 2 minutes ในช่วงทำข่าวที่สามจังหวัดภาคใต้ใหม่ๆ ผู้เขียนเคยไปที่หมู่บ้านหนึ่งในจังหวัดนราธิวาสเพื่อจะสัมภาษณ์ภรรยาของคนที่โดนอุ้มหายไป
Reading Time: 4 minutes แม้แถลงการณ์ฉบับเดียวไม่อาจเอามาตัดสินทุกอย่างได้ แต่คำถามที่เกิดขึ้นกับองค์วิชาชีพสื่อจำเป็นต้องเริ่มหาคำตอบ De/code คุยกับ 3 คนข่าว คนหนึ่งเป็นคนที่ถูกยิง คนหนึ่งเป็นบรรณาธิการข่าว และอีกหนึ่งคนในฐานะนายกสมาคมนักข่าวนักหนังสือพิมพ์แห่งประเทศไทย บทสนทนา 3 วง 3 มุม พอทำให้เห็นว่าอย่างไรเสียองค์กรวิชาชีพหรือกลุ่มก้อนของวิชาชีพสื่อยังสำคัญ ส่วนทิศทางและหน้าตาว่ามันควรเป็นแบบไหนจะเปลี่ยนไปยกแผง หรือปรับประคองก็คงเป็นอยู่ที่ว่าเราอยู่มุมไหนของสนามนี้
Reading Time: 3 minutes สังคมไทยทำอะไรกับเมล็ดพันธุ์แห่งความหวัง ทำร้าย ทุบตี ควบคุมเหมือนสัตว์เลี้ยงในโรงนาด้วยข้ออ้างของความหวังดีที่พ่อแม่มีต่อลูก
Reading Time: 2 minutes วัดอุณหภูมิความโกรธ! เขาบอกว่าเด็กสมัยนี้…เกรี้ยวกราด เป็น Angry Generation ไม่พอใจทุกอย่าง!? เราคุยกับความโกรธของพวกเขา โกรธอะไรจึงมาชุมนุม
Reading Time: 2 minutes เสียงของพ่อค้าแม่ขายที่ดังคลอไปกับเสียงปราศรัยกลายเป็นเรื่องปกติที่เรามักจะพบเห็นได้ในทุกๆ ม็อบ และยิ่งในช่วงนี้ที่เศรษฐกิจของไทยอยู่ในขั้นโคม่า การได้มาขายของในม็อบถือเป็นการดิ้นเฮือกสุดท้ายของเหล่าคนหาเช้ากินค่ำ
Reading Time: 2 minutes เมื่อโลกไม่เหมือนเดิมอีกต่อไปแล้ว หลังการเข้ามาของโควิด-19 โดยเฉพาะโลกการทำงานที่วันนี้ “หายใจไม่คล่อง” แล้ว เมื่อวันที่ 20 กันนายน 2563 ที่ผ่านมา สภาองคก์ารลูกจ้างแรงงานยานยนต์แห่งประเทศไทย สำนักเครือข่ายสื่อสาธารณะ ไทยพีบีเอส ภาคีสังคมแรงงานสู้วิกฤตโควิด และโครงการวิจัยและสนับสนุนเป้าหมายการพัฒนาที่ยั่งยืน มูลนิธิฟรีดริค เอแบร์ท (FES) ร่วมกันจัดเวทีเสวนา “การรักษาการจ้างงาน – ตัวอย่างที่ดี”