Environment Archives - Page 3 of 8 - Decode

CATEGORY Environment
Lorem ipsum dolor sit amet.

Economy

สระบุรีความเร็วสูง รางดีหรือลางร้าย?

Reading Time: 4 minutes จากใจคนทางผ่าน เมื่อรถไฟความเร็วไม่ได้นำมาซึ่งความเจริญ แต่พาคันดินสูง 7 เมตรมาทับหัวใจของคนหนองแซง ในวันที่วิถีชีวิตกำลังจะสูญหายภายใต้โครงการพัฒนาของรัฐ

Environment

21 ปีที่ไม่มีวันชนะช้างป่า ‘เขาวงศ์’ ความคับข้องใต้ภูเขาน้ำแข็งป่ารอยต่อ

Reading Time: 3 minutes 21 ปีที่ ยอดรัก เปลี่ยนอาชีพและพืชผลทางการเกษตรครั้งใหญ่ละทิ้งองค์ความรู้ เดิมและเรียนรู้สิ่งใหม่ถึง 3 ครั้ง ข้าวโพดและมันสำปะหลัง ที่เคยเป็นพืชเศรษฐกิจที่สร้างรายได้ให้กับเกษตรกรไทย และมีรัฐบาลสนับสนุนการปลูกพืชชนิดดังกล่าว กลับประสบปัญหาไม่สามารถปลูกได้เนื่องจากถูกช้างขโมยกิน เพื่อปกป้องผลผลิตที่เป็นดั่งผลตอบแทนของต้นทุนและหยาดเหงื่อที่ลงทุนลงแรงเลี้ยงดูปูเสื่อเป็นอย่างดีนับแต่วันที่ เริ่มไถพรวนดินจนถึงวันเก็บเกี่ยว ณ ช่วงแรก ยอดรักและชาวบ้านเขาวงศ์จากเดิมที่เป็นเกษตรกรตอนกลางวัน ก็ ต้องผันตัวไปเป็นคนเฝ้าช้าง

ธนพล เลิศเกียรติดำรงค์
Environment

ขอแค่ความหวัง นาขาวังรุ่นสุดท้าย

Reading Time: 3 minutes พื้นที่ความสมบูรณ์แห่งนี้ กำลังตกอยู่ในสภาวะสุ่มเสี่ยงที่จะเกิดปัญหาสิ่งแวดล้อม ทั้งมลภาวะทางน้ำ อากาศ ฝุ่น  ควัน จากการก่อตั้งโรงงานอุตสาหกรรมหลากหลาย แบบหลีกเลี่ยงไม่ได้

Decode
Environment

ขยะริมรั้ว มะม่วงข้ามแดน สิ้นสุดการเยียวยาหนองแหน ‘แค่…รอให้เราหมดแรงขัดขืน’

Reading Time: 2 minutes ขยะนับอนันต์ที่โอบรัด ‘หนองแหน’ ก็ได้เข้ามาเปลี่ยนแปลงระบบนิเวศ หรือเข้ามา เปลี่ยนความสัมพันธ์ของชาวบ้านกับสิ่งแวดล้อม จากพื้นที่ที่ถูกขนานนามว่าเป็นแหล่งผลิตอาหารที่สำคัญ แห่งหนึ่งของภาคตะวันออก มาสู่พื้นที่ที่มีผลผลิตทางการเกษตรไม่แน่นอนและผันแปรตามบ่อขยะ “ป้าหนู” หรือ “แม่หนู” ยืนยันถึงผลกระทบนี้ได้ดี่สุด

Decode
Environment

ปัจจุบันที่พูดไม่ได้ อนาคตที่ต้องย้ายหนี

Reading Time: 2 minutes บ่อขยะให้เงินกับชุมชนโดยเรียกว่า “เงินสปอนเซอร์” ซึ่งเป็นเงินสําหรับให้หน่วยงานท้องถิ่นนําไปพัฒนาชุมชน โดยมอบเงินผ่านผู้ใหญ่บ้านในหนองแหน เมื่อรับเงินมา ทําให้การจัดการของหน่วยงานท้องถิ่นก็เป็นเรื่องยากขึ้น เสมือนเป็นการยอมรับการมีตัวตนของบ่อขยะในพื้นที่ชุมชน เสียงของคนที่ยังได้รับความเดือดร้อนที่ออกมาเรียกร้องก็ไม่มีน้ำหนัก เพราะมีสมาชิกมองว่าไม่เดือดร้อนมากขนาดนั้น นอกจากนี้สมาชิกจํานวนน้อยที่อาศัยอยู่ใกล้กับบ่อขยะ ยังได้รับผลประโยชน์จาก “เงินเยียวยา” ที่บ่อขยะจ่ายให้กับชาวบ้าน เพื่อป้องกันการฟ้องร้องจากการได้รับผลกระทบ

Decode
Environment

ข่าวร้าย ร่างกายฉันมีสารฟีนอล

Reading Time: 2 minutes การสู้เพื่อปกป้องบ้านของเรามีมูลค่าที่ต้องจ่ายมากมายกว่าที่คิดไว้ แต่พวกเรายังคงทําทุกวิถีทางที่จะอยู่บ้านของเราต่อไป

Decode
Environment

กระชังปลาในอาณาจักรอีอีซี

Reading Time: 2 minutes หากกล่าวถึงสาเหตุในการที่ชาวบ้านไม่ต้องการให้พื้นที่ชุมชนถูกปรับเปลี่ยนไปเป็นท่าเรือบกแล้วนั้น คงไม่มีอะไรบรรยายได้ดีไปกว่าการที่ลุงยงยุทธพาฉันไปยังกระชังเพาะเลี้ยงปลานิลจิตรลดา ที่ชาวบ้านในชุมชน ยึดเป็นอาชีพหลักในการหารายได้เลี้ยงปากท้อง การเดินพูดคุยถึงวิถีชีวิตในชุมชนก่อนสอบถามถึงท่าเรือบก เป็นสิ่งที่ทําให้ฉันสัมผัสได้ว่าเพราะเหตุใดชาวบ้านจึงต้องการรักษาพื้นที่ซึ่งเป็นบ้านและแหล่งทํามาหากิน “ปลา กุ้ง ปู สัตว์น้ำต่าง ๆ ในพื้นที่อุดมสมบูรณ์มาก เพราะมีน้ำที่ดีแหล่งน้ำเลยเป็นพื้นที่ประกอบอาชีพและเลี้ยงทุกชีวิตในชุมชน”

Decode
เขื่อน มรดกโลก เขาใหญ่ ดงพญาเย็น ห้วยขาแข้ง แก่งกระจาน คลองมะเดื่อ อ่างเก็บน้ำ Environment

เขื่อน vs ป่า พื้นที่มรดกโลกจากเขียวสู่แดง

Reading Time: 3 minutes เมื่อ เขื่อนและอ่างเก็บน้ำ คือทางออกขาดแคลนน้ำในอนาคต แต่เป็นภัยคุกคามมรดกโลกที่ประเทศไทยต้องเผชิญ ชวนทำความเข้าใจสถานการณ์ ค้นหาแนวทางจัดการพื้นที่มรดกโลกที่อาจได้รับผลกระทบจากการพัฒนาโครงการขนาดใหญ่ของรัฐ

ณัฐพร เทพานนท์
Environment

มหาอุทกภัยในเครื่องหมายคำถาม

Reading Time: 2 minutes ทุกวันนี้เราได้ข่าวน้ำท่วมแทบจะทุกวันจากแทบทุกมุมโลก เฉพาะช่วงอาทิตย์ที่ผ่านมาเกิดน้ำท่วมใหญ่ที่รัฐฟลอริดา ฮ่องกง สเปน และกรีซ หรือแม้แต่พื้นที่กลางทะเลทรายอย่างลาสเวกัส เหตุผลสำคัญคือการเปลี่ยนแปลงสภาพภูมิอากาศทำให้เกิดฝนตกหนักรุนแรงในระยะเวลาสั้น ๆ ส่งผลให้มีโอกาสน้ำท่วมได้มากขึ้น ความรุนแรงจากน้ำท่วมมีหลายระดับ ตั้งแต่ทำลายทรัพย์สิน บ้านเรือน ทำให้การคมนาคมและเศรษฐกิจหยุดชะงัก ไปจนถึงทำลายที่อยู่อาศัย พื้นที่ทำกิน วิถีชีวิต และอาจนำมาซึ่งการบาดเจ็บล้มตายของผู้คนจำนวนมาก

ดร.เพชร มโนปวิตร
Environment

ล้นป่า ล้ำชุมชน วิกฤตช้าง(นอก)ป่า

Reading Time: 3 minutes คนกับช้างอยู่ร่วมกันได้จริงหรือไม่? ถอดรหัสหลากมุมมองจาก SPECIAL FORUM: อยู่ร่วมหรือขัดแย้ง? คนกับช้าง ณ ป่าตะวันออก (A Fragile Coexistence – Humans and Elephants in Eastern Thailand) เมื่อ ช้าง สัตว์ประจำชาติของไทยกำลังตกอยู่ในบัญชีสัตว์ใกล้สูญพันธุ์

ณัฐพร เทพานนท์
el nino เอลนีโญ เอลนีโญ่ โลกร้อน โลกรวน น้ำแล้ง ภัยแล้ง Environment

เอลนีโญมา ‘ถ้าไม่มีน้ำ เศรษฐกิจก็จบ’

Reading Time: 3 minutes เพราะภาคการเกษตรในประเทศไทยยังคงเป็นโมเดลรองจากอุตสาหกรรม และหากย้อนไปในสมัยก่อนจะพบว่า ภาคกลางใช้น้ำชลประทาน 100% เกษตกรไม่มองน้ำต้นทุนของตนเอง ถมที่ทั้งหมดเพื่อทำการเกษตร แต่หลังจากนั้นสิบกว่าปีก็เริ่มแล้ง เมื่อต้องการมองหาพื้นที่สาธารณะที่สามารถรองรับน้ำต้นทุนได้ก็กลับไม่เจอ

ณัฐพร เทพานนท์
Environment

ไฟป่าและฝุ่นควัน PM2.5 ในโลกที่ไม่เหมือนเดิม

Reading Time: < 1 minute เรากำลังอยู่ในสงคราม (กับไฟป่า) สองสามสัปดาห์จากนี้เราต้องเฝ้าระวังอย่างเต็มที่ วิกฤติด้านสภาพภูมิอากาศอยู่ตรงหน้าเราแล้ว และมันจะส่งผลกระทบไปทั่วเมดิเตอร์เรเนียน ด้วยภัยพิบัติที่รุนแรงยิ่งกว่านี้

ดร.เพชร มโนปวิตร
Environment

“ถูกหลอกเอาที่ดินไปแล้ว” แผลเรื้อรังของ อูรักลาโว้ย ‘หลีเป๊ะ’

Reading Time: 3 minutes ปมขัดแย้งบนเกาะหลีเป๊ะที่เรื้อรังมานานกว่า 30 ปี กรณีข้อพิพาทเอกสารสิทธิที่ดินระหว่างชุมชนชาวเลเกาะหลีเป๊ะ จ.สตูล กับเอกชนที่ถือเอกสารสิทธิที่ดินแล้วอ้างกรรมสิทธิ์เพื่อเข้ามาพัฒนาอุตสาหกรรมการท่องเที่ยวในพื้นที่ โดยต้นตอของปัญหามาจากการนำพื้นที่สาธารณะของชาวเลอูรักลาโว้ย ประกอบด้วยสุสานบรรพบุรุษ ลำรางสาธารณะ เส้นทางสัญจรดั้งเดิม ตลอดจนทางเดินลงสู่หาดออกเป็นเอกสารสิทธิ์ให้กับเอกชน และมีการซื้อขายกันเป็นทอดๆ ล่าสุดเกิดกรณีผู้อ้างสิทธิ์ก่อรั้วปิดเส้นทางผ่านเข้า-ออกโรงเรียนบ้านเกาะหลีเป๊ะที่ผู้คนท้องถิ่นใช้เป็นทางสัญจรมายาวนาน จนทำให้นักเรียน ครู ผู้ปกครอง ไม่สามารถใช้ทางเดิมไปโรงเรียนได้ และต้องใช้เรือเพื่ออ้อมไปอีกเส้นทาง

วิชญ์ช​นนท์​ ปิติ​ชัย​ธ​นา​โชติ​