Home - Decode

YOU ARE WHAT YOU READ
Lorem ipsum dolor sit amet.

Human & Society,Life Matters

ฮีโร่ ‘จ้างเหมา’ คนพิการคือหลังบ้านของปัญญาประดิษฐ์

Reading Time: 4 minutes เป็นหัวหน้าครอบครัว เป็นเอไอเทรนเนอร์และเป็นคนพิการ “วันนี้เป็นทุกอย่างให้เธอแล้ว” เจาะลึกเบื้องหลังการจ้างงานคนพิการที่เข้าไปมีบทบาทเป็นหลังบ้านของระบบ AI

ณัฐณิชา มีนาภา
Play Read

อเมริกา-ไทย ในช่วงเวลาโพล้เพล้ของประชาธิปไตย

Reading Time: 2 minutes ทำไมโดนัลด์ ทรัมป์จึงพลิกกลับมาชนะการเลือกอีกครั้งอย่างถล่มทลาย ทั้ง ๆ ที่ผู้คนต่างมองว่าทรัมป์เป็นพวกอนุรักษนิยมสุดขั้ว เหยียดเชื้อชาติ สุดโต่งและยืนอยู่ตรงข้ามกลุ่มหัวก้าวหน้า ชัยชนะของทรัมป์ในปี 2016 อธิบายว่าแทนที่อเมริกาจะเป็นเมืองสว่างกลางหุบเขา แทนที่จะเป็นชาติที่นำพลเมืองแห่งสังคมประชาธิปไตย กลับยึดหลักอเมริกาต้องมาก่อน ไม่ได้มองเห็นชะตากรรมของชาติอื่น ๆ ไม่ได้พาตัวเองไปอยู่ในใจกลางความร่วมมือของนานาชาติ ทรัมป์ในฐานะผู้นำตอนนั้นประกาศจุดยืนให้อเมริกาอย่างชัดเจน ด้วยการกล่าวชื่นชม ปูตินผู้นำรัสเซียต่อหน้าสื่อ ชัยชนะของทรัมป์ในปี 2024 เบ็ดเสร็จมากกว่า สหรัฐอเมริกาที่เคยเป็นต้นแบบพิมพ์นิยมของประชาธิปไตย แต่มีข้อวิจารณ์ว่านี่คือยุคดำมืดของประชาธิปไตยในสหรัฐเช่นกัน ทำไมคนอเมริกาที่มีสิทธิเลือกตั้งถึงเหวี่ยงสวิงไปยืนอยู่ในเงาดำมืดหรืออาจถึงขั้นยืนข้างผด็จการ สำรวจแรงดึงดูดอันหอมหวานแห่งอำนาจนิยมที่ทำให้ปัญญาชนหัวก้าวหน้าทั่วโลก หวั่นไหว แปรพักตร์ และไม่มีวันยอมรับตัวเอง กุญแจไขคำตอบถูกเขียนไว้ในหนังสือ Twilight of Democracy สนธยาประชาธิปไตย จอห์น ฟิตซ์เจอรัลด์ เคนเนดี (John F. Kennedy) ประธานาธิบดีคนที่ 35 ของสหรัฐอเมริกา จากพรรคเดโมแครต เคยกล่าวเอาไว้ว่า “อย่าถามว่าสหรัฐจะให้อะไรกับคุณ แต่จงถามว่าคุณจะทำอะไรให้สหรัฐ” แต่การเลือกตั้งผู้นำสหรัฐที่เพิ่งผ่านพ้นไปเมื่อกลางสัปดาห์ที่ผ่านมา ทรัมป์กำลังทำให้คนถามคำถามแรกดังขึ้น ผู้นำสหรัฐอเมริกาประเทศที่มีความพร้อมทางทรัพยากร มีความเข้มแข็งทางการทหาร และความก้าวหน้าทางเทคโนโลยี กำลังบอกกับสังคมโลกว่าเขาจะทำทุกอย่างเพื่อผลประโยชน์ของสหรัฐ ย้ำชัดว่าจะไม่เป็นพี่ใหญ่ของประเทศที่ด้อยพัฒนาหรือต้องการช่วยเหลือ นักวิเคราะห์หลายฝ่ายมองว่าเป็นเรื่องที่น่าเสียดายสำหรับประเทศนี้ เมื่อคนค่อนประเทศเลือกทรัมป์ในเชิงประเทศที่ปกครองโดยนิติรัฐ […]

วิภาพร วัฒนวิทย์
Inequality,Welfare state

เมืองที่เป็นธรรม

Reading Time: 4 minutes เป็นอย่างไร แต่ไม่ได้แปลงสู่รูปธรรมหรือระดับนโยบาย ส่วนนักสังคมศาสตร์ซึ่งก็เรียกร้องหาความยุติธรรมทางสังคม แต่ไม่ได้ถกเถียงอย่างจริงจังว่า ความยุติธรรมคืออะไร ส่วนนักผังเมือง (urban planners) ยิ่งหนักเข้าไปอีกเพราะไม่ค่อยสนใจเรื่องความยุติธรรม ไม่ตั้งคำถามว่า การวางแผนพัฒนาเมืองนำไปสู่ความเป็นธรรม หรือขยายความเหลื่อมล้ำมากขึ้น

รศ.ดร.บุญเลิศ วิเศษปรีชา
Human & Society,Welfare state

ความรักไม่ต้องมากมายแค่รักษามันไว้ให้ยาวนาน : ชวนอ่านวิทยานิพนธ์ว่าด้วยความรักในโลกเหลื่อมล้ำ

Reading Time: < 1 minute ความรักไม่ต้องมากมายแค่รักษามันไว้ให้ยาวนาน เป็นประเด็นที่ถูกตั้งในวิทยานิพนธ์เล่มนี้ แต่คำถามง่าย ๆ คือ แต่ละคนสามารถรักษาความรักได้เท่า ๆ กันหรือไม่ หรือในอีกทางหนึ่งผู้คนที่มีประสบการณ์ที่หลากหลายแตกต่างกัน พื้นหลังทางเศรษฐกิจสังคมแตกต่างกันจะนิยามความรักเหมือนกันหรือไม่ เป็นคำถามที่มนุษย์ถามกันมาหลายศตวรรษ ทั้งในประวัติศาสตร์ บทกวี บทเพลงที่เราต่างเพียรถามกันว่า “รักคืออะไร” ในงานวิจัยนี้ได้ฉายภาพให้เห็นว่า สำหรับอารยธรรมของมนุษย์ นิยามความรักแบบทางการในแต่ละยุคสมัยก็มีความแตกต่างกัน

รศ.ดร.ษัษฐรัมย์ ธรรมบุษดี
Conflict Resolution,Inequality

ละติจูดที่ความอยุติธรรมจำหลักอยู่เป็นนิจ

Reading Time: < 1 minute บน ‘ละติจูดที่ความอยุติธรรมจำหลักอยู่เป็นนิจ’ ในคอลัมน์ The Passenger เมื่อประวัติศาสตร์ตากใบกลับจบลงด้วยความอยุติธรรม แต่ความเจ็บปวดของพ่อ แม่ พี่ น้อง ของชาวบ้านชายแดนใต้ยังคงวนเวียนไม่สิ้นสุดเมื่อความยุติธรรมไม่มาถึงสักที

โรสนี นูรฟารีดา
Environment,Play Read

Capitalocene ทุนนิยมฟอกเขียว

Reading Time: 2 minutes Anthropocene บทวิพากษ์มนุษย์และวิกฤตสิ่งแวดล้อมในยุคสมัยแห่งทุน เป็นหนังสือที่ถูกจัดพิมพ์ขึ้นในโอกาส 30 ปี ศูนย์มานุษยวิทยาสิรินธร (องค์การมหาชน) ที่รวมบทความเชิงวิชาการ โดยนักวิชาการหลากหลายศาสตร์ อย่าง โบราณคดี ภูมิศาสตร์ มานุษยวิทยา ประวัติศาสตร์  ซึ่งทำให้เห็นมุมมองที่หลากหลายต่อคำว่า มนุษย์สมัย ที่เกิดจากการวิกฤตของโลกอย่างการเปลี่ยนแปลงสภาพภูมิอากาศ และสภาวะโลกร้อน แอ๊น-เธฺร่อ-เพ่อ-ซีน คำว่า “Anthropocene” ถูกเสนอโดย ยูจีน สเตอร์เมอร์ (Eugene F. Stoermer) กับ พอล ครุตเซน (Paul Crutzen) ในปี ค.ศ. 2000 ในจดหมายข่าว โปรแกรมศึกษาชีวภาค-ธรณีภาคนานาชาติ (IGBP) และต่อมาครุตเซนได้อธิบายให้กระชับขึ้นในวารสาร Nature 2002 ถึงการนิยามเพื่ออธิบายยุคใหม่ในประวัติศาสตร์โลกที่มนุษย์กลายเป็นสิ่งสำคัญที่มีผลกระทบต่อสภาพแวดล้อม สภาพภูมิอากาศ และสภาพภูมิศาสตร์ของโลก คำว่า Anthropocene ประกอบด้วยสองส่วน “Anthropos” มาจากภาษากรีก แปลว่า “มนุษย์” “Cene” เป็นคำที่ใช้ในทางธรณีวิทยาเพื่อระบุช่วงยุคทางประวัติศาสตร์ ในทางทฤษฎีนั้น Anthropocene ว่าด้วยผลกระทบสิ่งแวดล้อมอันเกิดจากกิจกรรมของมนุษย์ที่ทิ้งร่องรอยตรวจวัดได้ ทั้งในอากาศ น้ำ และดิน […]

กุลธิดา กระจ่างกุล

JUST WATCH IT
Lorem ipsum dolor

I THINK, THEREFORE I AM