จิตวิทยา Archives - Decode

TAG จิตวิทยา
Lorem ipsum dolor sit amet.

Play Read

ความไม่แน่นอน = ความไม่แน่นอน

Reading Time: 2 minutes เลือก Same as Ever จิตวิทยาเอาชนะอนาคต ไม่ใช่เพราะอยากจะเอาชนะอนาคต แต่เลือกเพราะคำโปรยปกหลังหนังสือ “การทำนายอนาคตเป็นเรื่องยาก เหตุการณ์สำคัญที่เปลี่ยนอนาคตมักทำนายล่วงหน้าไม่ได้ ดังนั้น เราควรจะตั้งคำถามใหม่ดีกว่าว่าอะไรจะยังคงเหมือนเดิมในอีกสิบปีข้างหน้า…”

จิตวิทยา

ความไม่แน่นอน = ความไม่แน่นอน

Reading Time: 2 minutes เลือก Same as Ever จิตวิทยาเอาชนะอนาคต ไม่ใช่เพราะอยากจะเอาชนะอนาคต แต่เลือกเพราะคำโปรยปกหลังหนังสือ “การทำนายอนาคตเป็นเรื่องยาก เหตุการณ์สำคัญที่เปลี่ยนอนาคตมักทำนายล่วงหน้าไม่ได้ ดังนั้น เราควรจะตั้งคำถามใหม่ดีกว่าว่าอะไรจะยังคงเหมือนเดิมในอีกสิบปีข้างหน้า…”

จิรภา ประทุมมินทร์
จิตวิทยา

เด็กกลัวความมืด ผู้ใหญ่กลัวแสงสว่าง

Reading Time: < 1 minute ในสังคมเรามีผู้ใหญ่จำนวนมากที่เติบโตแล้ว พวกเขายังหวาดกลัวต่อแสงสว่าง ยังสมัครใจคุ้นชินกับความมืด และพยายามที่สร้างให้แสงสว่างเป็นเรื่องน่ากลัว ข้อถกเถียงระหว่างเด็กที่กลัวความมืดกับผู้ใหญ่ที่กลัวแสงสว่าง เป็นความขัดแย้งทางความคิดที่เกิดขึ้นทุกยุคสมัย และบ่อยครั้งเองความขัดแย้งที่ไม่คลี่คลายนี้ ก็ทำให้สังคมไม่สามารถก้าวไปข้างหน้าได้

รศ.ดร.ษัษฐรัมย์ ธรรมบุษดี
จิตวิทยา

เรียนความเป็น ‘คน’ จากมนุษย์กลายพันธุ์

Reading Time: < 1 minute โปรดเข้าใจว่าหากเขาเข้าใจแก่นสารของการเรียนรู้ …อะไรก็หยุดยั้งเขาไม่ได้ และการสนใจใฝ่เรียนรู้จะอยู่เขาไปตลอดชีวิต เขาจะไม่หยุดนิ่ง เขาจะไม่คิดว่าเขารู้ทุกอย่าง เขาจะมีความกระหายใคร่รู้ติดตัวให้เรียนรู้ต่อไปได้ตลอดชีวิต

วีรพร นิติประภา
จิตวิทยา

เผชิญหน้า สบตากับภาวะที่เรียกว่า ‘สติแตก’

Reading Time: 2 minutes “คู่มือเอาชนะภาวะสติแตก” ของ Dr.Claire Weekes แปลโดย พลอยแสง เอกญาติ แล้วทำให้คิดไปว่า… ฉันอาจจะเป็นโรคนั้นก็ได้นะ หรือถึงสุดท้ายจะเป็นหรือไม่เป็น เราก็อยากทำความเข้าใจโรค หรือภาวะนี้อยู่ดี เพื่อเรียนรู้การอยู่ร่วมกันกับผู้อื่น ตามที่หนังสือเล่มนี้ได้เขียนจุดประสงค์ไว้

จิรภา ประทุมมินทร์
จิตวิทยา

มาตรวัดสถานะที่เรียกว่า “บันได” เมื่อเรายืนอยู่คนละขั้น

Reading Time: 2 minutes ไม่ว่าคุณจะยอมรับหรือไม่ก็ตาม แต่การเปรียบเทียบของคนเรานั้นซับซ้อนกว่าที่คิด สมองของคนเรามีการเปรียบเทียบตลอดเวลาทั้งที่รู้ตัวและไม่รู้ตัว สมองของเราตัดสินสถานะทางสังคมโดยอัตโนมัติ ซึ่งในหนังสือได้ใช้บันไดในการวัดมุมมองส่วนบุคคลต่อสถานะทางสังคม หรือที่เรียกว่า บันไดสถานะ (Status Ladder)

จิรภา ประทุมมินทร์