Conflict Resolution Archives - Page 4 of 29 - Decode

CATEGORY Conflict Resolution
Lorem ipsum dolor sit amet.

Conflict Resolution

ความมั่นคงแบบองค์ลงของรัฐไทย

Reading Time: 3 minutes หลังๆ มานี้เราพบเจอรายการข่าวที่นำเสนอเรื่องราวของคนทรง/ร่างทรง หรือ “ผู้วิเศษ” ที่มีพลังเหนือปุถุชนทั่วไปได้ค่อนข้างบ่อย… แน่นอนว่า เรื่องแบบนี้เรียกเรตติ้งได้ดี หลังรายการจบก็ยังเป็นกระแสต่อเนื่องในโซเชียลมีเดีย มีโพสต์ที่ทั้งชื่นชมและวิจารณ์ รวมถึง “ผู้วิเศษ” บางคนกลายเป็น “มีม” ที่เอาไปล้อหยอกกับเรื่องอื่นๆ ต่อได้อีก

Conflict Resolution

ภาวะโลกเดือดกับชะตากรรมของมหาสมุทร (ตอนที่ 2) มหันตภัยปะการังฟอกขาว

Reading Time: 3 minutes ปัจจุบันปะการังหลายแห่งอยู่ในสภาวะเสื่อมโทรมอันเนื่องมาจากมนุษย์ ไม่ว่าจะเป็นมลภาวะขยะ ตะกอนจากการพัฒนาชายฝั่ง และการทำประมงมากเกินขนาด รวมไปถึงการท่องเที่ยวที่ไม่รับผิดชอบ  

ดร.เพชร มโนปวิตร
Conflict Resolution

ฤามรดกโลกอยู่ในภาวะอันตราย? : เขื่อน, มรดกโลกดงพญาเย็น-เขาใหญ่

Reading Time: 5 minutes นับแต่ปี 2554 เริ่มเป็นปีที่ผืนป่าแห่งนี้ถูกตั้งคำถามเกี่ยวกับภัยคุกคามที่เกิดจากโครงการก่อสร้างเขื่อน ร่วมกับภัยคุกคามอื่นๆ เป็นครั้งแรก เพราะภัยคุกคามเหล่านี้ได้รับความสนใจจากคณะกรรมการมรดกโลก ที่กำหนดให้ประเทศไทยต้องปฏิบัติตามคำแนะนำและเสนอรายงานความก้าวหน้าอยู่เป็นระยะ และในปี  2560 และปี 2564 คณะกรรมการมรดกโลกได้พุ่งประเด็นไปที่โครงการเขื่อนเหล่านี้โดยตรง โดยขอให้ประเทศไทยยกเลิกโครงการทั้งหมดในผืนป่าแห่งนี้อย่างถาวร และระงับโครงการอื่นๆ ที่อยู่ในพื้นที่โดยรอบ เพื่อรอให้มีการประเมินสิ่งแวดล้อมระดับยุทธศาสตร์ก่อน

ปิยะภรณ์ วงศ์เรือง
Conflict Resolution

หลักฐานคือประชาชน ‘ชนกนันท์ นันตะวัน’ สู้จนชนะคดีฝุ่นพิษ แต่ยังไม่ได้สิทธิได้อากาศสะอาดคืนมา

Reading Time: 4 minutes 1 ปีคดีฟ้องฝุ่นถูกพิพากษา โดยมีหลักฐานคือประชาชน คุยกับ หนุ่ย-ชนกนันท์ นันตะวัน นักเคลื่อนไหวประเด็นสิ่งแวดล้อมในเชียงใหม่ กับประเด็นการฟ้องร้องหน่วยงานรัฐที่แม้จะสำเร็จ แต่ก็ยังไม่ถึงครึ่งทางของอากาศสะ

ธเนศ แสงทองศรีกมล
Conflict Resolution

สนามเล็ก ๆ ของเยาวชน

Reading Time: 3 minutes เรื่องสนามเล็กๆ ในหมู่บ้าน ชวนให้เรานึกเห็นประเด็น การแบ่งเขาแบ่งเรา แบ่งชั้นระหว่างคนใน/คนนอกหมู่บ้าน  และพื้นที่ออกกำลังกายสำหรับเยาวชนที่หายากขึ้นทุกวัน  

รศ.ดร.บุญเลิศ วิเศษปรีชา
Conflict Resolution

18 ชม. หนังชีวิตคนกองถ่าย “ส่งงานมาก่อน เดี๋ยวสัญญาส่งไปทีหลัง”

Reading Time: 3 minutes กองถ่ายต่างประเทศมีเวลาพักอย่างน้อย 12 ชั่วโมง ซึ่งมันเป็นมาตรฐานการทำงานของเขา ซึ่งการทำงานเกินเวลาพักไม่ใช่เรื่องน่าภูมิใจ มันไม่ควรนำเรื่องนี้มาสร้างค่านิยมการทำงานแบบผิด ๆ และนำมาเพื่อโปรโมทหนัง แต่ก็เข้าใจว่าแต่ละกองถ่ายจะมีสถานการณ์และงบประมาณที่ต่างกัน แต่หากทำได้ก็จะเป็นมาตรฐานการทำงานของกองถ่ายในอนาคตด้วย

วิชญ์ช​นนท์​ ปิติ​ชัย​ธ​นา​โชติ​
Conflict Resolution

ชั่งกิโลอุตสาหกรรมเนื้อสัตว์ ราคาที่โลกต้องจ่ายจากจานข้าวถึงชั้นบรรยากาศ

Reading Time: 3 minutes มองโลกร้อนผ่านจานข้าวกับ จักรชัย โฉมทองดี ผู้อำนวยการภูมิภาคเอเชียตะวันออกเฉียงใต้ Madre Brava ผู้เชื่อว่าแม้การบริโภคเนื้อสัตว์จะเป็นสาเหตุของโลกร้อน แต่ไม่ใช่เรื่องจำเป็นที่เราทุกคนจำเป็นจะต้องเลิกทานเนื้อสัตว์ เมื่อตัวการโลกร้อนที่แท้จริงคืออุตสาหกรรมเนื้อสัตว์ขนาดใหญ่ ที่อัตราเนื้อสัตว์แลกเป็นโปรตีนนั้นไม่คุ้มค่ากับทรัพยากรที่เสียไป

นทธร เกตุชู
Conflict Resolution

60’bar การปรากฏตัวของความเหงากับคุณค่าที่เหลืออยู่ของคนสูงวัย

Reading Time: 3 minutes เงิน แต่คือเรื่องของความสัมพันธ์และการมีสังคมผ่านสถานที่อย่าง 60’bar บาร์ที่เกิดขึ้นมาบนความเชื่อที่ว่าสถานเริงรมย์บันเทิงใจ ไม่จำเป็นต้องจำกัดไว้สำหรับคนวัยหนุ่มสาวเพียงอย่างเดียว

ณฐาภพ สังเกตุ
Conflict Resolution

จดหมายถึงลูกสาวฉบับที่ 4 : อยากให้มนุษย์เป็นอย่างไร เราก็สนับสนุนสังคมแบบนั้น

Reading Time: < 1 minute ธรรมชาติของมนุษย์อาจไม่มีสิ่งใดตายตัว แต่เราเองสามารถวางเงื่อนไขในการสร้างสิ่งที่เราพึงประสงค์ได้ หรือกล่าวโดยสรุปคือ เราอยากให้มนุษย์เป็นอย่างไร เราก็ออกแบบสังคมอย่างนั้น

รศ.ดร.ษัษฐรัมย์ ธรรมบุษดี
Conflict Resolution

35 ปีที่ไปไม่ถึงฝันสวัสดิการหลังเกษียณของลูกจ้างประจำ กทม.

Reading Time: 4 minutes 35 ปีในฐานะลูกจ้างประจำกรุงเทพฯ แต่ชีวิตเกษียณกลับไร้สวัสดิการ น้ำพักน้ำแรงตลอดชีวิตการทำงานของลูกจ้าง ไม่สามารถแลกเป็นสวัสดิการในบั้นปลายชีวิตได้เลยหรือ?

ธเนศ แสงทองศรีกมล
Conflict Resolution

โลกเดือด ชะตากรรมของมหาสมุทร (ตอนที่ 1)

Reading Time: 2 minutes อยากให้ทุกคนลองหลับตา แล้วสูดหายใจลึก ๆ รู้ไหมว่าครึ่งหนึ่งของออกซิเจนที่เราสูดเข้าไปมีที่มาจากท้องทะเล จากแพลงก์ตอนพืชจำนวนมหาศาลที่สร้างออกซิเจนไม่แพ้ป่าดงดิบ ไม่ว่าคุณจะอยู่ที่ไหน ใกล้หรือไกลจากทะเลก็ตาม ทะเลเป็นส่วนหนึ่งของชีวิตของทุกคน

ดร.เพชร มโนปวิตร
Conflict Resolution

จดหมายถึงลูกสาวฉบับที่ 2 : มีผู้คนต่อสู้มาก่อนเรา เจ็บช้ำมาก่อนเรา และพวกเขาทำให้เรามีวันนี้

Reading Time: < 1 minute ประกายไฟลามทุ่ง รศ.ดร.ษัษฐรัมย์ ธรรมบุษดี จดหมายฉบับที่สองก่อนที่พ่อจะได้เจอหน้าลูกสาวของพ่อ ลูกจะได้เกิดและเติบโตมาในโลกที่มีหลากหลายความหมาย โลกที่บางมุมก็สวยงามและมหัศจรรย์ แต่ก็มีอีกหลายมุมที่ลูกอาจฉงนสงสัยว่า ในโลกที่สวยงามขนาดนี้เหตุใดยังมีความโหดร้ายระหว่างกันมากมาย ในความขัดแย้งนี้สิ่งที่พ่ออยากจะบอกลูกคือ โลกมนุษย์เราเคยมีช่วงเวลาที่เลวร้ายไม่ว่าพวกเราจะตั้งใจหรือไม่ตั้งใจ เราสร้างความอดอยากขึ้นท่ามกลางความอุดมสมบูรณ์ สร้างความยากจนขึ้นมาท่ามกลางความร่ำรวย เราสร้างยารักษาโรคมากมายที่ทำให้ชีวิตมนุษย์ยืนนานเพิ่มได้หลายสิบปีพร้อม ๆ กับสร้างอาวุธสงครามที่คร่าชีวิตมนุษย์นับแสนได้ในไม่กี่วินาที และมนุษย์เราก็ก้าวพ้นความขัดแย้งเหล่านี้ได้ ไม่ได้เกิดขึ้นโดยคนที่มีสติปัญญาปราดเปรื่อง นักรบที่กล้าหาญ หรือเศรษฐีคนใด แต่มันเกิดจากการส่งเสียงของคนธรรมดา ที่ไม่ยอมจำนนต่อความไม่เป็นธรรม ก่อนหน้านี้ มนุษย์แบ่งแยกกันด้วยสีผิวและชาติกำเนิด คนสีผิวหนึ่งไม่ได้รับการคุ้มครองด้วยหลักการที่เท่าเทียมกัน ไม่ถูกคำนึงว่าเป็นมนุษย์ พวกเขาทำงานโดยไม่ได้รับค่าจ้าง ถูกกังขังเหมือนสัตว์เลี้ยง และไม่มีสิทธิ์เสียงในการแสดงความคิดเห็นเกี่ยวกับความเป็นไปของสังคมที่พวกเขาอยู่ พ่อไม่ได้จะบอกลูกว่าสิ่งเหล่านี้ได้หายไปหมด มนุษย์ยังคงแบ่งแยกกดขี่ระหว่างกัน เมื่อครั้งที่มนุษย์ต่อสู้เพื่อการเลิกทาส ยังมีนายทุนจำนวนมากบอกว่าเศรษฐกิจจะล้มละลายถ้ามีการเลิกทาสและทำให้ทุกคนได้รับค่าจ้างที่เป็นธรรมรวมถึงมีสิทธิเสมอภาคกับเหล่านายทาส ถ้าเราใช้หลักเศรษฐศาสตร์กำหนดความเป็นไปของโลก เรายังคงมีทาสอยู่ การเปลี่ยนแปลงทั้งหมดนี้ไม่ได้เกิดจากการคำนวณแต่เกิดจากการยืนยันต่อสู้ของคนธรรมดาที่ไร้อำนาจ ใช้วิธีที่สันติอารยะขัดขืนบ้าง และบางครั้งพวกเขาก็เดิมพันด้วยชีวิตของพวกเขาในการยืนยันสิทธิที่พวกเขาควรมีตั้งแต่แรก พวกเขาทำให้เราสามารถมีชีวิตที่ดีได้ในวันนี้ มนุษยชาติดูเหมือนจะฉลาดกว่าสิ่งมีชีวิตอื่น แต่ก็มีบางเรื่องที่พวกเขาโง่เง่ามาหลายศตวรรษ มนุษย์ที่ไม่ใช่เพศกำเนิดชายเพิ่งจะมีโอกาสที่เสมอภาคกันหน้าคูหาเลือกตั้งเมื่อไม่ร้อยกว่าปีมานี่เอง การเลือกปฏิบัติสำหรับเพศหญิง และคนที่มีเพศสภาวะไม่ตรงกับเพศกำเนิดเคยเป็นเรื่องรุนแรงในศตวรรษที่แล้ว มีหลายคนที่เสียชีวิตและถูกทำร้ายโดยกระบวนยุติธรรมอย่างเป็นทางการของรัฐ รวมถึงศาลเตี้ยของระบบชายเป็นใหญ่เพียงแค่พวกเขามีความปรารถนาในชีวิต และวิถีทางเพศที่แตกต่างไป แต่การต่อสู้ของคนธรรมดาที่ไร้อำนาจ ผลักดันให้ความเท่าเทียมกันเป็นเรื่องปกติ ทำให้ผู้หญิงธรรมดาสามารถที่จะท้าทาย มีความรักได้อย่างเสรี เมื่อสมัยพ่อเด็ก ๆ คำว่า “ชายแท้” หรือ […]

รศ.ดร.ษัษฐรัมย์ ธรรมบุษดี