Conflict Resolution Archives - Decode

CATEGORY Conflict Resolution
Lorem ipsum dolor sit amet.

Conflict Resolution

ความมั่นคงแบบองค์ลงของรัฐไทย

Reading Time: 3 minutes หลังๆ มานี้เราพบเจอรายการข่าวที่นำเสนอเรื่องราวของคนทรง/ร่างทรง หรือ “ผู้วิเศษ” ที่มีพลังเหนือปุถุชนทั่วไปได้ค่อนข้างบ่อย… แน่นอนว่า เรื่องแบบนี้เรียกเรตติ้งได้ดี หลังรายการจบก็ยังเป็นกระแสต่อเนื่องในโซเชียลมีเดีย มีโพสต์ที่ทั้งชื่นชมและวิจารณ์ รวมถึง “ผู้วิเศษ” บางคนกลายเป็น “มีม” ที่เอาไปล้อหยอกกับเรื่องอื่นๆ ต่อได้อีก

Conflict Resolution

เมืองที่เป็นธรรม

Reading Time: 4 minutes เป็นอย่างไร แต่ไม่ได้แปลงสู่รูปธรรมหรือระดับนโยบาย ส่วนนักสังคมศาสตร์ซึ่งก็เรียกร้องหาความยุติธรรมทางสังคม แต่ไม่ได้ถกเถียงอย่างจริงจังว่า ความยุติธรรมคืออะไร ส่วนนักผังเมือง (urban planners) ยิ่งหนักเข้าไปอีกเพราะไม่ค่อยสนใจเรื่องความยุติธรรม ไม่ตั้งคำถามว่า การวางแผนพัฒนาเมืองนำไปสู่ความเป็นธรรม หรือขยายความเหลื่อมล้ำมากขึ้น

รศ.ดร.บุญเลิศ วิเศษปรีชา
Conflict Resolution

ความรักไม่ต้องมากมายแค่รักษามันไว้ให้ยาวนาน : ชวนอ่านวิทยานิพนธ์ว่าด้วยความรักในโลกเหลื่อมล้ำ

Reading Time: < 1 minute ความรักไม่ต้องมากมายแค่รักษามันไว้ให้ยาวนาน เป็นประเด็นที่ถูกตั้งในวิทยานิพนธ์เล่มนี้ แต่คำถามง่าย ๆ คือ แต่ละคนสามารถรักษาความรักได้เท่า ๆ กันหรือไม่ หรือในอีกทางหนึ่งผู้คนที่มีประสบการณ์ที่หลากหลายแตกต่างกัน พื้นหลังทางเศรษฐกิจสังคมแตกต่างกันจะนิยามความรักเหมือนกันหรือไม่ เป็นคำถามที่มนุษย์ถามกันมาหลายศตวรรษ ทั้งในประวัติศาสตร์ บทกวี บทเพลงที่เราต่างเพียรถามกันว่า “รักคืออะไร” ในงานวิจัยนี้ได้ฉายภาพให้เห็นว่า สำหรับอารยธรรมของมนุษย์ นิยามความรักแบบทางการในแต่ละยุคสมัยก็มีความแตกต่างกัน

รศ.ดร.ษัษฐรัมย์ ธรรมบุษดี
Conflict Resolution

ละติจูดที่ความอยุติธรรมจำหลักอยู่เป็นนิจ

Reading Time: < 1 minute บน ‘ละติจูดที่ความอยุติธรรมจำหลักอยู่เป็นนิจ’ ในคอลัมน์ The Passenger เมื่อประวัติศาสตร์ตากใบกลับจบลงด้วยความอยุติธรรม แต่ความเจ็บปวดของพ่อ แม่ พี่ น้อง ของชาวบ้านชายแดนใต้ยังคงวนเวียนไม่สิ้นสุดเมื่อความยุติธรรมไม่มาถึงสักที

โรสนี นูรฟารีดา
Conflict Resolution

Capitalocene ทุนนิยมฟอกเขียว

Reading Time: 2 minutes Anthropocene บทวิพากษ์มนุษย์และวิกฤตสิ่งแวดล้อมในยุคสมัยแห่งทุน เป็นหนังสือที่ถูกจัดพิมพ์ขึ้นในโอกาส 30 ปี ศูนย์มานุษยวิทยาสิรินธร (องค์การมหาชน) ที่รวมบทความเชิงวิชาการ โดยนักวิชาการหลากหลายศาสตร์ อย่าง โบราณคดี ภูมิศาสตร์ มานุษยวิทยา ประวัติศาสตร์  ซึ่งทำให้เห็นมุมมองที่หลากหลายต่อคำว่า มนุษย์สมัย ที่เกิดจากการวิกฤตของโลกอย่างการเปลี่ยนแปลงสภาพภูมิอากาศ และสภาวะโลกร้อน แอ๊น-เธฺร่อ-เพ่อ-ซีน คำว่า “Anthropocene” ถูกเสนอโดย ยูจีน สเตอร์เมอร์ (Eugene F. Stoermer) กับ พอล ครุตเซน (Paul Crutzen) ในปี ค.ศ. 2000 ในจดหมายข่าว โปรแกรมศึกษาชีวภาค-ธรณีภาคนานาชาติ (IGBP) และต่อมาครุตเซนได้อธิบายให้กระชับขึ้นในวารสาร Nature 2002 ถึงการนิยามเพื่ออธิบายยุคใหม่ในประวัติศาสตร์โลกที่มนุษย์กลายเป็นสิ่งสำคัญที่มีผลกระทบต่อสภาพแวดล้อม สภาพภูมิอากาศ และสภาพภูมิศาสตร์ของโลก คำว่า Anthropocene ประกอบด้วยสองส่วน “Anthropos” มาจากภาษากรีก แปลว่า “มนุษย์” “Cene” เป็นคำที่ใช้ในทางธรณีวิทยาเพื่อระบุช่วงยุคทางประวัติศาสตร์ ในทางทฤษฎีนั้น Anthropocene ว่าด้วยผลกระทบสิ่งแวดล้อมอันเกิดจากกิจกรรมของมนุษย์ที่ทิ้งร่องรอยตรวจวัดได้ ทั้งในอากาศ น้ำ และดิน […]

กุลธิดา กระจ่างกุล
Conflict Resolution

ผังเมืองกับสิทธิที่จะมีส่วนกำหนดเมือง 

Reading Time: 3 minutes “the right to the city ไปไกลกว่าเสรีภาพของปัจเจกในการเข้าถึงทรัพยากรเมือง แต่เป็นสิทธิที่จะเปลี่ยนตัวเราเอง ด้วยการเปลี่ยนเมือง” i ประโยคนี้มีความสำคัญในแง่ที่ว่า มนุษย์เรานั้นเปลี่ยนโลกให้สอดคล้องกับความปรารถนาของเราเสมอ แต่เมืองกลับเป็นพื้นที่ที่มนุษย์สร้างขึ้น แต่เหมือนถูกสาปให้อยู่ เพราะเมืองที่เป็นอยู่ลดทอนความเป็นมนุษย์ของเราไปทุกที

รศ.ดร.บุญเลิศ วิเศษปรีชา
Conflict Resolution

เสียงจากประชาชนผู้เป็นเจ้าของแร่ เมื่อสิ่งแวดล้อมที่ดีคือสิทธิมนุษยชน กฎหมายจะไม่เป็นแค่ตัวหนังสือ

Reading Time: 3 minutes หนึ่งในผิดพลาดของแผนแม่บทบริหารจัดการแร่ที่เด่นชัด คือ การขาดการมีส่วนร่วมของชุมชน โดยชุมชนที่อาศัยอยู่ใกล้แหล่งแร่ส่วนใหญ่ไม่ได้รับโอกาสในการเข้ามามีส่วนร่วมในกระบวนการตัดสินใจ  ข้อมูลที่ใช้ในการวางแผนนั้นไม่ครบถ้วนและไม่เป็นปัจจุบัน ทำให้การวิเคราะห์ผลกระทบต่อสิ่งแวดล้อมและสุขภาพประชาชนไม่สามารถทำได้อย่างถูกต้อง การขาดการสำรวจพื้นที่อย่างละเอียดและมีความรอบคอบยังเป็นอีกหนึ่งปัญหา 

กุลธิดา กระจ่างกุล
Conflict Resolution

ภัยพิบัติควบคุมบ่ได้ แต่จัดการได้ Better Practice ของวารินชำราบบ้านเฮา

Reading Time: 6 minutes การรับมือภัยพิบัติของวารินชำราบจะมีประชาชนเป็นด้านหน้าก็จริง แต่รัฐเป็นหน่วยสนับสนุนที่รับฟัง และลงมาทำข้อมูลร่วมกับประชาชน ความร่วมมือนี้จะไม่เกิดขึ้นหากเรายังฟังเสียงกันและกันในพื้นที่เสี่ยงภัยพิบัติกันมากพอ และมันอาจไม่ใช่ใครต้องเป็นคนนำหรือคนตาม หัวใจสำคัญของการก้าวข้ามภัยพิบัติคือแต่ละฝ่ายรู้หน้าที่ของตัวเองว่าจะต้องปฏิบัติอย่างไรเมื่อภัยมา

นทธร เกตุชู
Conflict Resolution

บัตรทองทุกที่ ‘ครอบคลุม’ ทุกหนี้โรงพยาบาล?

Reading Time: 3 minutes จาก 30 บาทรักษาทุกโรค สู่ “30 บาทรักษาทุกที่” ชวนคนในแวดวงสาธารณสุขเช็คอาการทางสังคม ความจริงที่ยังซุกซ่อนอยู่ในระบบหลักประกันสุขภาพพร้อม ๆกับการตรวจสุขภาพทางการเงินของโรงพยาบาล ความท้าทายสำคัญที่สปสช. ต้องดำเนินการควบคู่ไปกับการป้องกันโรค

ณัฐณิชา มีนาภา
Conflict Resolution

ในวันที่สันเขื่อนคือเรือนบ้าน บางระกำ รับกรรม ‘หน่วง’ น้ำไปอีกนาน?

Reading Time: 4 minutes แผนของชลประทาน คือการสร้างเขื่อน แต่พื้นที่เขื่อนเป็นบ้านและนาข้าวของชาวบ้าน บางระกำโมเดลเลยเป็นเขื่อนที่มีโฉนดที่ดิน มีเจ้าของที่อยู่ในเขื่อนนี้ด้วย

ณัฐณิชา มีนาภา
Conflict Resolution

อย่าปล่อยให้คนแพ้ต้องดูแลตัวเอง ในเมื่อไม่มีใครดูแลตัวเองได้ตลอด

Reading Time: 2 minutes การผูกงานเข้ากับมูลค่านั้นเป็นผลิตผลสำคัญของระบบทุนนิยม กล่าวอีกอย่างก็คือ กิจกรรมที่สร้างมูลค่าทางเศรษฐกิจเท่านั้นที่จะถูกว่าเป็น “งาน” ซึ่งกิจกรรมดังกล่าวก็ทำให้คนที่มีส่วนสร้างมูลค่ากลายมาเป็น “คนทำงาน” ส่วนคนอื่น ๆ นั้นไม่ได้ทำงานเพราะพวกเขาไม่ได้สร้างมูลค่าแต่อย่างใด ผลผลิตของการผูกงานเข้ากับมูลค่าจึงทำให้มีคนจำนวนหนึ่งที่ไม่ได้ทำงาน เพราะพวกเขาทำกิจกรรมอื่น ๆ ที่ไม่ได้นำไปสู่หรือไม่ได้กำลังสร้างมูลค่า แม้ว่าพวกเขาจะทำกิจกรรมนั้น ๆ จนตัวตาย พวกเขาก็ไม่ได้ถูกนับว่าทำงาน … หลาย ๆ ครั้ง ผู้ดูแลซึ่งหารายได้ไม่ได้ เพราะเขาไม่มีโอกาสออกไปหารายได้นอกบ้านก็ถูกมองว่าเป็นภาระของสังคม

เก่งกิจ กิติเรียงลาภ
Conflict Resolution

เดซิเบลของการแจ้งเตือน วิกฤติหลังไซเรนเที่ยงคืน เสียงเตือนว่าเรา ‘ไม่วางแผนรับมือ’ แบบวันนี้ไม่ได้แล้ว

Reading Time: 4 minutes ถ้าการเตรียมแผนรับมือภัยพิบัติเป็นเหมือนกับบทละครหรือ ‘ซีเนริโอ’  ประชาชนที่เป็นผู้เล่น ควรมีโอกาสได้ออกแบบ และเข้าไปมีบทบาทในเตรียมแผนรับมือภัยพิบัติให้เสร็จสมบูรณ์ เมื่อเกิดภัยแล้ว จะไม่นำไปสู่การตั้งคำถามของประชาชนว่าควรทำอย่างไรต่อ หรือรู้ภัยที่กำลังมา แต่ไม่มีแผนรองรับในช่วงเวลาการเกิดภัย

ณัฐณิชา มีนาภา
Conflict Resolution

ทำที่อยู่อาศัยเป็นสิทธิ ทิศทางที่ควรจะเป็น

Reading Time: 3 minutes อุปสรรคที่ทำให้ที่อยู่อาศัยราคาแพง ก็คือต้นทุนโครงการที่สูงขึ้นนอกจากค่าวัสดุ ค่าแรง ก็คือ ที่ดิน แม้แต่ผู้ประกอบการก็ยังอวดครวญว่าต้นทุนราคาที่ดินสูงเป็นปัจจัยสำคัญ การปรับปรุงกฏหมายเพื่อใช้มาตรการภาษีลดช่องว่างจากภาษีที่ดินที่ต้องเก็บในอัตราก้าวหน้าเพื่อลดการเก็งกำไรที่ดินยังมีความจำเป็น เพื่อให้ผู้เล่นในตลาดทั้งหมดลดการกักตุนที่ดินและการเก็งกำไร ราคาที่ดินจะได้ไม่ถีบตัวสูงขึ้น และเป็นประโยชน์กับทุกคน 

รศ.ดร.บุญเลิศ วิเศษปรีชา