Labour movement Archives - Decode

TAG Labour movement
Lorem ipsum dolor sit amet.

Economy

แสนยานุภาพของขบวนการแรงงาน สายธารแห่งการลุกขึ้นสู้ [ตอนที่ 2]

Reading Time: 3 minutes คนทำงาน ฉัตรชัย พุ่มพวง สายธารการลุกขึ้นสู้และชัยชนะของขบวนแรงงานในสังคมไทย ในยุคต้นสมบูรณาญาสิทธิราชย์หลังจากที่ ร.5 รวบอำนาจจากเหล่าเจ้าขุนมูลนายทั่วอาณาบริเวณที่เหลือเป็นรัฐกันชนระหว่างเจ้าอาณานิคมทั้งฝรั่งเศสทั้งอังกฤษได้สำเร็จ ก่อเกิดเป็นรัฐสมบูรณาญาสิทธิราชย์ขึ้นเป็นครั้งแรก พร้อมกันนั้นได้มีการยกเลิกระบบไพร่ทาสไป เนื่องจากมีแรงงานจีนอพยพได้หลั่งไหลเข้ามาในสยามจำนวนมากตั้งแต่สมัย ร.4 ทำให้ต้นทุนของระบบไพร่ทาส เริ่มที่จะแพงและไร้ประสิทธิภาพ เมื่อเทียบกับแรงงานรับจ้างอย่างแรงงานจีน มีการปฏิรูประบบภาษีให้รวมศูนย์มาที่กษัตริย์โดยให้ทุกคนจ่ายภาษีแทนการเรียกเกณฑ์แรงงานบังคับ เมื่อสัดส่วนของแรงงานจีนในสังคมสยามมีมากขึ้น ๆ ปัญหาเรื่องสภาพการทำงานที่ย่ำแย่ จึงเข้มข้นมากขึ้นเรื่อย ๆ ปกติแล้ว เมื่อคนจีนอพยพไปอยู่ที่ไหนในโลก ก็จะมีการพยายามรวมกลุ่มกัน เป็นที่มาของคำว่า “อั้งยี่” ที่เป็นคำใช้เรียกองค์กรของแรงงานจีน ซึ่งจริง ๆ แล้วทำหน้าที่คล้ายกับสหภาพแรงงานเพื่อต่อรองกับรัฐและทุนนั่นเอง กุลีจีนเหล่านี้เป็นแรงงานกลุ่มแรก ๆ ที่สไตร์คหยุดงานในสยาม ไม่ว่าจะเป็นแรงงานจีนในเหมืองที่ภาคใต้ หรือ กุลีลากรถและกรรมกรแบกข้าวสารในพระนคร ช่วงแรกรัฐบาลสมบูรณาฯ ก็รู้สึกสะดวกในการดีลกับผู้นำของอั้งยี่ทำให้ควบคุมจัดการพวกแรงงานจีนทำได้ง่าย แต่พอนานไปเข้าก็รู้สึกได้ถึงอำนาจต่อรองที่มากเกินไป เพราะมีเหตุการณ์ที่แรงงานจีนเหล่านี้สไตร์คหยุดงาน จึงทำให้ต้องออกกฎหมายอั้งยี่ซ่องโจรออกมา เพื่อกดปราบแรงงานจีนเหล่านี้ เมื่อเกิดการปฏิวัติเปลี่ยนแปลงการปกครองโดยคณะราษฎรในปี 2475 ขบวนแรงงานในสังคมไทยก็เติบโตมากขึ้นเรื่อย ๆ บางยุครวมตัวกันได้อย่างแข็งขัน บางยุคถูกฝั่งรัฐและทุนโต้กลับกดปราบ โดยเฉพาะยุคเผด็จการสฤษดิ์ ถนอม ประภาส ที่มีการใช้มาตรา 17 ประหารสุภชัย ศรีสติ ผู้นำแรงงาน […]

Labour movement

แสนยานุภาพของขบวนการแรงงาน สายธารแห่งการลุกขึ้นสู้ [ตอนที่ 2]

Reading Time: 3 minutes คนทำงาน ฉัตรชัย พุ่มพวง สายธารการลุกขึ้นสู้และชัยชนะของขบวนแรงงานในสังคมไทย ในยุคต้นสมบูรณาญาสิทธิราชย์หลังจากที่ ร.5 รวบอำนาจจากเหล่าเจ้าขุนมูลนายทั่วอาณาบริเวณที่เหลือเป็นรัฐกันชนระหว่างเจ้าอาณานิคมทั้งฝรั่งเศสทั้งอังกฤษได้สำเร็จ ก่อเกิดเป็นรัฐสมบูรณาญาสิทธิราชย์ขึ้นเป็นครั้งแรก พร้อมกันนั้นได้มีการยกเลิกระบบไพร่ทาสไป เนื่องจากมีแรงงานจีนอพยพได้หลั่งไหลเข้ามาในสยามจำนวนมากตั้งแต่สมัย ร.4 ทำให้ต้นทุนของระบบไพร่ทาส เริ่มที่จะแพงและไร้ประสิทธิภาพ เมื่อเทียบกับแรงงานรับจ้างอย่างแรงงานจีน มีการปฏิรูประบบภาษีให้รวมศูนย์มาที่กษัตริย์โดยให้ทุกคนจ่ายภาษีแทนการเรียกเกณฑ์แรงงานบังคับ เมื่อสัดส่วนของแรงงานจีนในสังคมสยามมีมากขึ้น ๆ ปัญหาเรื่องสภาพการทำงานที่ย่ำแย่ จึงเข้มข้นมากขึ้นเรื่อย ๆ ปกติแล้ว เมื่อคนจีนอพยพไปอยู่ที่ไหนในโลก ก็จะมีการพยายามรวมกลุ่มกัน เป็นที่มาของคำว่า “อั้งยี่” ที่เป็นคำใช้เรียกองค์กรของแรงงานจีน ซึ่งจริง ๆ แล้วทำหน้าที่คล้ายกับสหภาพแรงงานเพื่อต่อรองกับรัฐและทุนนั่นเอง กุลีจีนเหล่านี้เป็นแรงงานกลุ่มแรก ๆ ที่สไตร์คหยุดงานในสยาม ไม่ว่าจะเป็นแรงงานจีนในเหมืองที่ภาคใต้ หรือ กุลีลากรถและกรรมกรแบกข้าวสารในพระนคร ช่วงแรกรัฐบาลสมบูรณาฯ ก็รู้สึกสะดวกในการดีลกับผู้นำของอั้งยี่ทำให้ควบคุมจัดการพวกแรงงานจีนทำได้ง่าย แต่พอนานไปเข้าก็รู้สึกได้ถึงอำนาจต่อรองที่มากเกินไป เพราะมีเหตุการณ์ที่แรงงานจีนเหล่านี้สไตร์คหยุดงาน จึงทำให้ต้องออกกฎหมายอั้งยี่ซ่องโจรออกมา เพื่อกดปราบแรงงานจีนเหล่านี้ เมื่อเกิดการปฏิวัติเปลี่ยนแปลงการปกครองโดยคณะราษฎรในปี 2475 ขบวนแรงงานในสังคมไทยก็เติบโตมากขึ้นเรื่อย ๆ บางยุครวมตัวกันได้อย่างแข็งขัน บางยุคถูกฝั่งรัฐและทุนโต้กลับกดปราบ โดยเฉพาะยุคเผด็จการสฤษดิ์ ถนอม ประภาส ที่มีการใช้มาตรา 17 ประหารสุภชัย ศรีสติ ผู้นำแรงงาน […]

ฉัตรชัย พุ่มพวง
Labour movement

แสนยานุภาพของขบวนการแรงงาน สายธารแห่งการลุกขึ้นสู้ [ตอนที่ 1]

Reading Time: 3 minutes ตลอดประวัติศาสตร์ของมนุษย์มีตัวอย่างเหตุการณ์นัดหยุดงานประท้วงที่น่าสนใจหลายเหตุการณ์เราจะไล่เรียงกันตั้งแต่อียิปต์, โรมัน, สเปน, เดนมาร์ก และมาจบที่ไทย สุสานจะศักดิ์สิทธิ์ หรือยิ่งใหญ่แค่ไหน ก็ไม่พ้นมันสมองและสองมือของคนงาน

ฉัตรชัย พุ่มพวง