Economy
สระบุรีความเร็วสูง รางดีหรือลางร้าย?
Reading Time: 4 minutes จากใจคนทางผ่าน เมื่อรถไฟความเร็วไม่ได้นำมาซึ่งความเจริญ แต่พาคันดินสูง 7 เมตรมาทับหัวใจของคนหนองแซง ในวันที่วิถีชีวิตกำลังจะสูญหายภายใต้โครงการพัฒนาของรัฐ
Reading Time: 4 minutes จากใจคนทางผ่าน เมื่อรถไฟความเร็วไม่ได้นำมาซึ่งความเจริญ แต่พาคันดินสูง 7 เมตรมาทับหัวใจของคนหนองแซง ในวันที่วิถีชีวิตกำลังจะสูญหายภายใต้โครงการพัฒนาของรัฐ
Reading Time: 2 minutes Anthropocene บทวิพากษ์มนุษย์และวิกฤตสิ่งแวดล้อมในยุคสมัยแห่งทุน เป็นหนังสือที่ถูกจัดพิมพ์ขึ้นในโอกาส 30 ปี ศูนย์มานุษยวิทยาสิรินธร (องค์การมหาชน) ที่รวมบทความเชิงวิชาการ โดยนักวิชาการหลากหลายศาสตร์ อย่าง โบราณคดี ภูมิศาสตร์ มานุษยวิทยา ประวัติศาสตร์ ซึ่งทำให้เห็นมุมมองที่หลากหลายต่อคำว่า มนุษย์สมัย ที่เกิดจากการวิกฤตของโลกอย่างการเปลี่ยนแปลงสภาพภูมิอากาศ และสภาวะโลกร้อน แอ๊น-เธฺร่อ-เพ่อ-ซีน คำว่า “Anthropocene” ถูกเสนอโดย ยูจีน สเตอร์เมอร์ (Eugene F. Stoermer) กับ พอล ครุตเซน (Paul Crutzen) ในปี ค.ศ. 2000 ในจดหมายข่าว โปรแกรมศึกษาชีวภาค-ธรณีภาคนานาชาติ (IGBP) และต่อมาครุตเซนได้อธิบายให้กระชับขึ้นในวารสาร Nature 2002 ถึงการนิยามเพื่ออธิบายยุคใหม่ในประวัติศาสตร์โลกที่มนุษย์กลายเป็นสิ่งสำคัญที่มีผลกระทบต่อสภาพแวดล้อม สภาพภูมิอากาศ และสภาพภูมิศาสตร์ของโลก คำว่า Anthropocene ประกอบด้วยสองส่วน “Anthropos” มาจากภาษากรีก แปลว่า “มนุษย์” “Cene” เป็นคำที่ใช้ในทางธรณีวิทยาเพื่อระบุช่วงยุคทางประวัติศาสตร์ ในทางทฤษฎีนั้น Anthropocene ว่าด้วยผลกระทบสิ่งแวดล้อมอันเกิดจากกิจกรรมของมนุษย์ที่ทิ้งร่องรอยตรวจวัดได้ ทั้งในอากาศ น้ำ และดิน […]
Reading Time: 3 minutes หนึ่งในผิดพลาดของแผนแม่บทบริหารจัดการแร่ที่เด่นชัด คือ การขาดการมีส่วนร่วมของชุมชน โดยชุมชนที่อาศัยอยู่ใกล้แหล่งแร่ส่วนใหญ่ไม่ได้รับโอกาสในการเข้ามามีส่วนร่วมในกระบวนการตัดสินใจ ข้อมูลที่ใช้ในการวางแผนนั้นไม่ครบถ้วนและไม่เป็นปัจจุบัน ทำให้การวิเคราะห์ผลกระทบต่อสิ่งแวดล้อมและสุขภาพประชาชนไม่สามารถทำได้อย่างถูกต้อง การขาดการสำรวจพื้นที่อย่างละเอียดและมีความรอบคอบยังเป็นอีกหนึ่งปัญหา
Reading Time: 6 minutes การรับมือภัยพิบัติของวารินชำราบจะมีประชาชนเป็นด้านหน้าก็จริง แต่รัฐเป็นหน่วยสนับสนุนที่รับฟัง และลงมาทำข้อมูลร่วมกับประชาชน ความร่วมมือนี้จะไม่เกิดขึ้นหากเรายังฟังเสียงกันและกันในพื้นที่เสี่ยงภัยพิบัติกันมากพอ และมันอาจไม่ใช่ใครต้องเป็นคนนำหรือคนตาม หัวใจสำคัญของการก้าวข้ามภัยพิบัติคือแต่ละฝ่ายรู้หน้าที่ของตัวเองว่าจะต้องปฏิบัติอย่างไรเมื่อภัยมา
Reading Time: 4 minutes แผนของชลประทาน คือการสร้างเขื่อน แต่พื้นที่เขื่อนเป็นบ้านและนาข้าวของชาวบ้าน บางระกำโมเดลเลยเป็นเขื่อนที่มีโฉนดที่ดิน มีเจ้าของที่อยู่ในเขื่อนนี้ด้วย
Reading Time: 4 minutes ถ้าการเตรียมแผนรับมือภัยพิบัติเป็นเหมือนกับบทละครหรือ ‘ซีเนริโอ’ ประชาชนที่เป็นผู้เล่น ควรมีโอกาสได้ออกแบบ และเข้าไปมีบทบาทในเตรียมแผนรับมือภัยพิบัติให้เสร็จสมบูรณ์ เมื่อเกิดภัยแล้ว จะไม่นำไปสู่การตั้งคำถามของประชาชนว่าควรทำอย่างไรต่อ หรือรู้ภัยที่กำลังมา แต่ไม่มีแผนรองรับในช่วงเวลาการเกิดภัย
Reading Time: 6 minutes กว่าหนึ่งทศวรรษของนโยบายทวงคืนผืนป่า ทวงคืน 40% แห่งความสมบูรณ์ แลกมาซึ่งการสูญสิ้นซึ่งชีวิตชีวาของป่าไม้ และการอยู่ร่วมระหว่างคนกับป่าที่เป็นเพียง’วาทกรรม’
Reading Time: 4 minutes เทศกาลอาหารบ้านป่าดงมะไฟ เทศกาลหลังการปิดเหมืองสำเร็จที่หมู่บ้านผาฮวกพัฒนาชาวประชาสามัคคี เทศกาลที่รื้อฟื้นการต่อสู้เพื่อความมั่นคงต่อสิ่งแวดล้อมและข้าวปลาอาหารของชาวบ้านดงมะไฟ
Reading Time: 3 minutes เมฆปริศนา ภายใต้ภูเขา พื้นดิน แหล่งน้ำ ไม่ได้มีเพียงแค่แร่ แต่ยังมี ‘ชีวิต’ ของผู้ ‘คน’ ที่ประเมินมูลค่าไม่ได้
Reading Time: 5 minutes ถอดหน้า ‘กาก’ กับคำตอบของหน่วยงานภาครัฐที่ยังมีคำถามกับหลายภาคส่วนที่เกี่ยวข้องในวงเสวนา “อาชญากรรม สิ่งแวดล้อม โจทย์ท้าทายที่สังคมไทยต้องรับมือให้ได้” โจทย์ใหญ่ที่ยังคาราคาซังในสังคมไทยและต้องหาทางกันมากกว่ารอแก้ และโจทย์ใหม่ที่จะทำให้ประชาชนไม่ได้เป็นเพียงผู้ชนะคดีศาลแต่ยังไม่ได้รับการเยียวยา
Reading Time: 3 minutes ค่าไฟหนนี้มีรอบบิลที่แพงขึ้นและประชาชนกำลังจนลงกับแผนPDP2024 แผนพัฒนากำลังการผลิตไฟฟ้า พ.ศ.2567 -2580 ที่กำลังจะเป็นแผนบริหารจัดการพลังงานไฟฟ้าแผนใหม่ในอีกไม่กี่เร็ววันข้างหน้าได้อย่างชัดเจมแจ่มแจ้ง ยังเต็มไปด้วยเสียงคัดค้านจากภาควิชาการและภาคประชาชนว่าไม่ตอบโจทย์ต่อความยั่งยืน
Reading Time: 6 minutes หายนะระลอกใหม่ พิษหนองพะวาในวันนี้เหลือซากโกดังไฟที่ลุกลามไปทั่วทั้งโกดัง 5 โรงงานของบริษัทวิน โพรเซสฯ หลักฐานความล้มเหลวในการจัดการกากอุตสาหกรรม แม้จะชนะคดีตามคำพิพากษาของศาลจังหวัดระยอง ในปี 2565 แต่ค่าเยียวยา 20.8 ล้านบาท ซึ่งรวมถึงการเยียวยา บำบัด ฟื้นฟูพื้นที่ตามคำพิพากษาคดีหมายเลขดำที่ สวพ 1/2564 นั้นก็ยังไม่เกิดขึ้นจริง
Reading Time: 2 minutes ท่ามกลางวิกฤตการณ์ที่โลกกำลังเผชิญ ไม่ว่าจะเป็นการเปลี่ยนแปลงสภาพภูมิอากาศ ภัยพิบัติที่ทวีความรุนแรง การสูญเสียความหลากหลายทางชีวภาพ ไปจนถึงปัญหาความเหลื่อมล้ำทางสังคม หลายฝ่ายต่างตระหนักดีว่า ถึงเวลาแล้วที่เราต้องหันมาทบทวนวิธีคิด และแนวทางการแก้ปัญหา ที่กำลังสั่นคลอนความมั่นคงในการดำรงอยู่ของมวลมนุษยชาติอย่างไม่เคยปรากฏมาก่อน