สถาบันแรงงานและเศรษฐกิจที่เป็นธรรม, Author at Decode
Economy

จากหน้าจอถึงหน้าประตู: บันทึกหนึ่งวันของ ‘แรงงานขาจรออนไลน์’

Reading Time: 2 minutes สถาบันแรงงานและเศรษฐกิจที่เป็นธรรม (JELI) หยิบผลงานเกี่ยวกับชีวิตการทำงานรายชิ้น (gig work) 3 เรื่องที่ชนะการประกวด “คน-งาน-ผ่านแอปฯ อาชีพอิสระใหม่ในโลกไม่มั่นคง” ประเภทคนงาน มารีวิวให้ฟังว่าในปีที่ผ่านมา เหล่าคนงานบนแพลตฟอร์มออนไลน์เล่าให้เราฟังว่าพวกเขามีชีวิตในฐานะ ‘คนงานขาจร’ ที่ไม่ประจำตามแอปพลิเคชันอย่างไรบ้าง

สถาบันแรงงานและเศรษฐกิจที่เป็นธรรม

อำนาจเราไม่เท่ากัน มีไหมแฟลตฟอร์ม (ทางเลือก) ที่เป็นธรรม

Reading Time: 3 minutes ซีรีย์ “กรรมกรดิจิทัล” นำเสนอประเด็นของคนงานกิ๊กในภาพรวม ความแตกต่างจากงานฟรีแลนซ์ รวมถึงปัญหาระหว่างการทำงานของไรเดอร์จนนำไปสู่การรวมกลุ่มแล้ว

สถาบันแรงงานและเศรษฐกิจที่เป็นธรรม
สถาบันแรงงานและเศรษฐกิจที่เป็นธรรม

การรวมกลุ่มของไรเดอร์ส่งอาหาร-การต่อรองกับแพลตฟอร์มข้ามชาติยักษ์ใหญ่

Reading Time: 4 minutes ความนิยมในการสั่งอาหารผ่านแพลตฟอร์มออนไลน์ ทำให้เกิดการขยายตัวของงานส่งอาหารรายชิ้น ที่มีชื่อเรียกอย่างเก๋ไก๋ว่า ‘งานกิ๊ก’ (gig work) โดยพนักงานขี่มอเตอร์ไซต์ส่งอาหารหรือ “ไรเดอร์” ที่บริษัทแพลตฟอร์มกำหนดสถานะเป็น “พาร์ทเนอร์” หรือหุ้นส่วน แต่กระบวนการทำงานที่เป็นจริงไม่ต่างจากพนักงานของบริษัท

สถาบันแรงงานและเศรษฐกิจที่เป็นธรรม
สถาบันแรงงานและเศรษฐกิจที่เป็นธรรม

รู้จักแรงงานดิจิทัล: ฟรีแลนซ์และกรรมกรแพลตฟอร์ม งานออฟไลน์สู่ออนไลน์ ความอิสระที่ไม่อิสระ

Reading Time: 4 minutes พัฒนาการของเทคโนโลยีดิจิทัลมีผลทำให้ตลาดการจ้างงานส่วนหนึ่งกลายเป็นตลาดออนไลน์ ขณะที่ความเข้าใจเกี่ยวกับการจ้างงานแบบเก่าบนโลกออฟไลน์และการกำกับดูแลจากรัฐแบบเดิมๆ ไม่สามารถอธิบายปรากฏการณ์ใหม่ๆ จากการจ้างงานที่เชื่อมต่อโลกออฟไลน์กับออนไลน์ได้

สถาบันแรงงานและเศรษฐกิจที่เป็นธรรม