นิศาชลคำลือ Archives - Decode

TAG นิศาชลคำลือ
Lorem ipsum dolor sit amet.

Columnist

อุตสาหกรรมอวกาศกำลังทำร้ายโลกอยู่รึป่าว ?

Reading Time: < 1 minute การเติบโตของเทคโนโลยีส่งผลให้มนุษย์เราสามารถใช้ชีวิตประจำวันได้อย่างสะดวกสบายขึ้น โดยหนึ่งในเทคโนโลยีที่มีผลกับชีวิตประจำวันของเราก็คือ เทคโนโลยีดาวเทียม อย่างเช่น ดาวเทียมสำหรับทำแผนที่นำทางและดาวเทียมอินเทอร์เน็ตเพื่อการสื่อสาร ยิ่งเรามีดาวเทียมเหล่านี้มากเท่าไหร่ ยิ่งช่วยเพิ่มเสถียรภาพในการทำงานอย่างเป็นระบบของดาวเทียม

นิศาชลคำลือ

อุตสาหกรรมอวกาศกำลังทำร้ายโลกอยู่รึป่าว ?

Reading Time: < 1 minute การเติบโตของเทคโนโลยีส่งผลให้มนุษย์เราสามารถใช้ชีวิตประจำวันได้อย่างสะดวกสบายขึ้น โดยหนึ่งในเทคโนโลยีที่มีผลกับชีวิตประจำวันของเราก็คือ เทคโนโลยีดาวเทียม อย่างเช่น ดาวเทียมสำหรับทำแผนที่นำทางและดาวเทียมอินเทอร์เน็ตเพื่อการสื่อสาร ยิ่งเรามีดาวเทียมเหล่านี้มากเท่าไหร่ ยิ่งช่วยเพิ่มเสถียรภาพในการทำงานอย่างเป็นระบบของดาวเทียม

นิศาชล คำลือ
นิศาชลคำลือ

ตาดวงใหม่ของมนุษยชาติ

Reading Time: < 1 minute Space for Thai นิศาชล คำลือ ว่ากันว่าความงามไม่อาจมองเห็นได้ด้วยตาเปล่าเสมอไป เนื่องด้วยข้อจำกัดทางธรรมชาติที่อนุญาตให้มนุษย์มองเห็นวัตถุได้เพียงช่วงคลื่นที่ตามองเห็นเท่านั้น เมื่อดวงตาไม่อาจมองเห็น มนุษย์จึงจำเป็นจะต้องใช้สติปัญญาแทนดวงตาเพื่อมองให้เห็นถึงความงามที่ไม่อาจมองเห็นได้ด้วยตาเปล่า ในปี ค.ศ. 1990 กล้องโทรทรรศน์อวกาศฮับเบิลได้ถูกส่งขึ้นไปโคจรรอบโลกที่ความสูงประมาณ 570 กิโลเมตร มันสามารถมองเห็นวัตถุได้ทั้งในช่วงคลื่นที่ตามองเห็น ช่วงคลื่นแสงอินฟราเรด และช่วงคลื่นอัลตราไวโอเลต ฮับเบิลประสบความสำเร็จอย่างมากในการเป็นกล้องโทรทรรศน์อวกาศ ด้วยดวงตาของมันทำให้นักดาราศาสตร์สามารถศึกษาวัตถุและปรากฏการณ์ใหม่ ๆ ในอวกาศได้มากมาย สร้างผลกระทบเชิงบวกเป็นวงกว้างให้กับวงการดาราศาสตร์และวิทยาศาสตร์ และข้อมูลจากฮับเบิลยังถูกนำมาอ้างอิงในงานวิจัยของนักวิจัยอยู่เสมอ ๆ จนถึงนักวิจัยรุ่นปัจจุบัน จะเรียกว่าเป็นดวงตาของมนุษยชาติเลยก็ว่าได้ แต่คุณผู้อ่านสังเกตเห็นอะไรในความสมบูรณ์แบบนี้ไหม? หากนับตั้งแต่ปีที่ฮับเบิลถูกส่งขึ้นไปปฏิบัติหน้าที่จนถึงวันนี้ ณ ที่เขียน พบว่ากล้องโทรทรรศน์อวกาศฮับเบิลมีอายุการทำงานมากว่า 32 ปีแล้ว แม้มันจะเป็นกล้องโทรทรรศน์อวกาศที่ถูกออกแบบมาให้สามารถส่งนักบินอวกาศไปทำการซ่อมแซมเมื่อชำรุดได้ แต่เราได้ส่งนักบินอวกาศออกไปซ่อมแซมมันอยู่เสมอมากถึง 5 ครั้งแล้ว และการส่งมนุษย์ออกไปทำงานกลางอวกาศแบบนั้น นับเป็นเรื่องที่มีความเสี่ยงสูง ยิ่งเราดึงดันจะซ่อมมันอยู่เรื่อย ๆ จะยิ่งเป็นการเพิ่มความเสี่ยงให้กับนักบินอวกาศ หน่วยงานอวกาศอย่างนาซ่า องค์การอวกาศยุโรป และอีกหนึ่งพันธมิตรอย่างองค์การอวกาศแคนาดาจึงได้พยายามที่จะสร้างกล้องโทรทรรศน์อวกาศรุ่นใหม่ขึ้นมาเพื่อทดแทนการทำงานของกล้องโทรทรรศน์อวกาศฮับเบิล ทั้งนี้พวกเขายังตั้งเป้าให้กล้องโทรทรรศน์อวกาศรุ่นใหม่ที่ว่าสามารถล้วงลึกจักรวาลไปได้ไกลถึงจุดกำเนิดของทุกสิ่งทุกอย่างเพื่อไขปริศนาในการมีอยู่ของเอกภพ และนั่นก็คือจุดกำเนิดของ “กล้องโทรทรรศน์อวกาศเจมส์ เวบบ์” กล้องโทรทรรศน์อวกาศชนิดสะท้อนแสงทายาทรุ่นน้องที่อ้างอิงการสร้างมาจากกล้องโทรทรรศน์อวกาศฮับเบิล เป็นเวลาเกือบสามทศวรรษในการวางแผนพัฒนาและปรับปรุง จนในที่สุด เจมส์ เวบบ์ […]

นิศาชล คำลือ
นิศาชลคำลือ

อาชีพนักสื่อสารดาราศาสตร์ นักต่อสู้กับความไม่รู้ พูดคุยกับ “ศุภฤกษ์ คฤหานนท์ “

Reading Time: < 1 minute ดาราศาสตร์เป็นเรื่องที่อยู่ใกล้ ๆ ตัวเรา งานดาราศาสตร์จึงไม่ได้มีแค่เฝ้ามองท้องฟ้าเท่านั้น รู้จักกับอาชีพนักสื่อสารดาราศาสตร์มากกว่าที่เคยรู้จักผ่านเรื่องเล่าของ พี่แจ็ค – ศุภฤกษ์ คฤหานนท์

นิศาชล คำลือ
นิศาชลคำลือ

คุยกับทีมผู้สร้าง BCC-SAT 1 เด็กมัธยมที่พิสูจน์ว่า ‘ไม่มีใครเด็กเกินกว่าจะไปอวกาศ’

Reading Time: 4 minutes ทำอวกาศในไทยจะเอาอะไรกิน เป็นคำถามยอดฮิตที่ถูกถามอยู่บ่อย ๆ ถ้าเราลองตั้งคำถามใหม่ล่ะว่าจะทำอย่างไรให้อุตสาหกรรมอวกาศในไทยมันเติบโตพอที่จะเลี้ยงปากท้องคนทำงานได้ พูดคุยกับทีมผู้สร้าง BCC-SAT 1 ผลงานที่ทำลายเพดานของความเป็นไปได้ที่เคยมีอยู่ในสังคมไทย

นิศาชล คำลือ