Columnist
การรวมตัวของแรงงานรุ่นใหม่ : นับหนึ่งการต่อสู้ก้าวแรกที่ไม่เคยยากเกินไป
แรงงานสร้างสรรค์นับล้านคนสามารถรวมตัวกันเพื่อปกป้องผลประโยชน์ของกันและกันได้ พวกเขาก็จะไม่ต้องพึ่งพาระบบอุปถัมภ์ ไม่ต้องอิงแอบกับค่านิยมอนุรักษ์นิยม
แรงงานสร้างสรรค์นับล้านคนสามารถรวมตัวกันเพื่อปกป้องผลประโยชน์ของกันและกันได้ พวกเขาก็จะไม่ต้องพึ่งพาระบบอุปถัมภ์ ไม่ต้องอิงแอบกับค่านิยมอนุรักษ์นิยม
แรงงานสร้างสรรค์นับล้านคนสามารถรวมตัวกันเพื่อปกป้องผลประโยชน์ของกันและกันได้ พวกเขาก็จะไม่ต้องพึ่งพาระบบอุปถัมภ์ ไม่ต้องอิงแอบกับค่านิยมอนุรักษ์นิยม
“แรงงานเสี่ยง” ขยายตัวขึ้นอย่างต่อเนื่องในรอบสิบปีที่ผ่านมา และกลายเป็นตัวชี้วัดต่อสถานการณ์ความเหลื่อมล้ำทั้งในไทยและหลายประเทศทั่วโลก
ชวนตั้งคำถามในประเด็นพื้นฐานว่าถ้าคนได้รับค่าจ้างและสวัสดิการที่ดีเท่า ๆกันชีวิตจะขาดแรงจูงใจในการสร้างสรรค์จริงหรือ ? จะเกิดอะไรขึ้นหากมนุษย์ได้รับค่าจ้างและสวัสดิการที่ดีเท่า ๆกัน
พวกเราถูกทำให้ตรึงใจกับอาชญากรรมของคนจน การประหัตประหารกันระหว่างคนจนด้วยกันความโหดเหี้ยมของคนจน ความสิ้นหวังดูคล้ายสัตว์ป่าของคนจน เมื่อพวกเขาก่อการปล้นหรือขโมย ขณะเดียวกันพวกเราก็มองไม่เห็นความเลือดเย็นไว้หัวใจที่ฆ่าพวกเราให้ตายทั้งเป็นทุกวันทุกชั่วโมงทุกวินาทีโดยกลุ่มคนมั่งคั่งในสังคมที่ทำได้อย่างชอบธรรมที่สุด
ประเทศที่ระบบสวัสดิการพื้นฐานดีกว่า ก็ย่อมสามารถเก็บรักษาชีวิตของประชาชนได้ดีกว่าประเทศที่ระบบสวัสดิการพื้นฐานไม่ดี ซึ่งนอกจากตัวเงินที่ลงไปแล้วสิ่งสำคัญคือระบบการคิดเกี่ยวกับเรื่องการกระจายสวัสดิการก็เป็นสิ่งสำคัญ
ภาพความเหลื่อมล้ำและทุกข์ยากอาจเป็นเพียงแฟนตาซีของคนรุ่นใหม่ที่เติบโตในสังคมที่เท่าเทียมมาก ๆ
ยิ่งเริ่มทำงานไวอาจไม่ได้ทำให้รวย แต่ทำให้การต่อรองเพื่องานที่มั่นคงน้อยลง
หากเราไม่ “วิจารณ์รัฐบาล” มันคือการเมินเฉยต่อเรื่องนี้อย่างน่าละอาย คำถามสำคัญคือ เราสามารถช่วยชีวิตผู้คน สนับสนุนด่านหน้า เปลี่ยนแปลงเชิงโครงสร้าง เรียกร้องรัฐสวัสดิการ พร้อมด่ารัฐบาล ไปพร้อมกันได้หรือไม่ วันนี้ผมจะพาถอดรหัส “กลุ่มคนดูแลกันเอง” ซึ่งสามารถทำทุกอย่างข้างต้นได้ในพร้อมกัน
วันนี้ มีผู้เสียชีวิตจากวิกฤติโรคระบาดในช่วง 18 เดือนกว่า 3,000 คนในประเทศไทย เป็นจำนวนที่มากกว่าจำนวนพลเรือนไทยที่เสียชีวิตในสงครามโลกครั้งที่ 2 ยังไม่นับรวมการฆ่าตัวตายจากเศรษฐกิจถดถอยที่ยาวนาน ไม่นับรวมความฝันที่ค้างเติ่ง
น่าคิดว่าสำหรับการระบาดที่ยาวนานมากกว่า 18 เดือน ความเหลื่อมล้ำได้เผยให้เห็นในทุกมิติ จากการกักตัว การรักษารายได้ วัคซีน การรักษา และทุกครั้งผู้ที่ไร้อำนาจทางเศรษฐกิจ ไร้อำนาจทางการเมืองกลับเป็นผู้ที่ต้องแบกรับความเสี่ยงทั้งหมด และครั้งนี้ก็เป็นคิวของ “แรงงานก่อสร้าง” ผู้เนรมิตเมืองนี้ขึ้นมาด้วยแรงกาย หยาดเหงื่อ แต่ถูกทิ้งไว้ในซอกหลืบของสังคม
ชวนอ่านเอกสารชิ้นแรกของการอภิวัฒน์สยาม “แถลงการณ์คณะราษฎรฉบับที่ 1” ว่าความเหลื่อมล้ำที่ไม่จางหายแม้เวลาผ่านไป 89 ปี และการต่อสู้เพื่อความเท่าเทียมที่หวนกลับมาในปัจจุบันโดยกระแสการต่อสู้ของคนรุ่นใหม่ในปัจจุบัน
คำอธิบายมากมายสารพัดที่จะสรุปว่า เราไม่พร้อมกับรัฐสวัสดิการ และคนไทยไม่สมควรที่จะมีชีวิตที่ดีขึ้น คำอธิบายทั้งหลายเหล่านี้ เต็มไปด้วยความปรารถนาดีแต่กลับทำให้เรื่องรัฐสวัสดิการกลายเป็นเรื่องซับซ้อน ผูกขาดความหมาย และกลายเป็นเรื่องที่เป็นไปไม่ได้