Interview
มหานคร For All ! ‘นายก็เป็นได้นะ’ เพราะเมืองนี้คนพิการไม่มี มีแต่สภาพแวดล้อมที่พิการ
การออกแบบอารยสถาปัตย์ คือส่วนประกอบของเมืองที่ผู้คนสามารถพึ่งพาตัวเองได้ และนั่นอาจหมายถึงนิยามหนึ่งของ เมืองที่ดี
การออกแบบอารยสถาปัตย์ คือส่วนประกอบของเมืองที่ผู้คนสามารถพึ่งพาตัวเองได้ และนั่นอาจหมายถึงนิยามหนึ่งของ เมืองที่ดี
เพราะสังคมที่ดี ต้องไม่ทิ้งใครไว้ข้างหลัง แต่เมื่อมากกว่า 2.4 ล้านเสียง ยังเสี่ยงที่จะถูกทิ้งไว้ เราจะเรียกเมืองหลวงแห่งนี้ ว่าเป็นเมืองที่ดี ที่พัฒนา หรือเท่าเทียม อย่างเต็มปากได้อย่างไร
แรงงานสร้างสรรค์ไม่เคยถูกมองเห็นจากภาครัฐ ประสบการณ์ร่วมของการถูกเบียดขับนี้ ทำให้สหภาพแรงงานสร้างสรรค์ แห่งประเทศไทยถือกำเนิดขึ้น
De/code ชวน “สหภาพคนทำงาน” มาร่วมชำแหละปัญหาของสหภาพแรงงานในไทย
De/code พูดคุยกับ นพ.เจษฎ์ ถึงอนาคตของวงการแพทย์ในโลก Metaverse
คุยกับกรกนก ฮัปเปิล ถึงสาเหตุความย่ำแย่การใช้ภาษาอังกฤษของเด็กไทย ท่ามกลางความเป็นภาษาสากลของภาษา
De/code คุยกับผู้กำกับ ฉันทนา ทิพย์ประชาติ ถึงแนวคิดการทำ “หน่าฮ่านเดอะซีรีส์” และตัวตนลูกอีสานผ่านงานของเธอ
คุยกับธีรภัทร รื่นศิริ อาจารย์ประจำภาควิชาปรัชญาของมหาวิทยาลัยธรรมศาสตร์ ถึงแนวคิดการศึกษาไทยที่ยังคงเป็นปัญหา ไม่ว่าจะเป็นการสั่งการบ้าน ไปจนถึงการตัดเกรดแบบอิงกลุ่ม
แนวคิดของคาร์บอนเครดิตคือการสร้างแรงจูงใจให้บริษัทเหล่านี้ รับผิดชอบต่อการใช้สอยประโยชน์ทรัพยากรของสาธารณะ หรือเป็นเพียงแค่ช่องโหว่ทางเศรษฐศาสตร์ ที่จะให้นายทุนสามารถปล่อยของเสียต่อไปได้ เพียงแค่ให้ตัวเลขของคาร์บอนเครดิตจากกิจกรรมต่าง ๆ ในแต่ละบริษัทเพิ่มมากขึ้น
เมื่อโลกการทำงานที่ ไม่มีงานไหนที่ใช้แต่แรง ไม่มีงานไหนที่ใช้แต่สมอง เราทุกคนคือแรงงาน แต่นั่นไม่ง่ายเลยกับการรวมแรงงานในวันนี้ เมื่อทั้งมายาคติ วิถีชีวิต และวัฒนธรรม ภายใต้คำว่า “การทำงานในโลกทุนนิยม” ยังคงเกาะแน่น และรัดรึงเราให้ห่างจากการมองเห็น “พลัง” ของการรวมตัวในฐานะแรงงาน ผู้ซึ่งคือ “คนสำคัญ” และเป็นฐานความสำเร็จของนายทุนขนาดใหญ่
เพราะความเท่าเทียมทางเพศ ไม่ได้เป็นเรื่องของเพศหญิงหรือเพศทางเลือก หรือกระทั่งเพศชายเองก็ตาม การลดความเหลื่อมล้ำ การเลือกปฏิบัติ และสร้างความเท่าเทียมทางเพศ เป็นเรื่องที่เราควรจะมองและสนับสนุน ในฐานะคน ๆ หนึ่ง ที่เชื่อว่าสังคมจะเท่ากัน
สิ่งที่จะทำให้ขบวนการทางสังคมเดินต่อไปได้ คือการมีพื้นที่ให้แต่ละคนได้หยุดพัก ทบทวน เปลี่ยนแปลง พูดคุยกับ การเมืองหลังบ้านของกลุ่มนักกิจกรรมที่เล็งเห็นความสำคัญของการดูแลตัวเอง และการดูแลซึ่งกันและกันภายในขบวนการเรียกร้อง
รัฐสวัสดิการไม่เพียงตอบโจทย์ทางการเมืองหรือเศรษฐกิจเท่านั้น แต่ยังตอบโจทย์ทางจริยศาสตร์เรื่องของ well being ด้วย